Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               จะเห็นไดวากระบวนการตาง ๆ ดังกลาวมานี้ตองอาศัยเทคนิคทางคณิตศาสตรที่มีอยูทั่วไปกระทํากับ

               ขอมูลแบบดิจิตอลที่ไดนําเขามายังระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ซึ่งผูใชงานตองเขาใจทฤษฏีทาง
               คณิตศาสตรอยางถองแทถึงจะทําใหการประยุกตเพื่อดัดแปลง สังเคราะหและวิเคราะหขอมูลออกมา

               ไดอยางถูกตองจึงจะทําใหไดชั้นขอมูลใหมที่ถูกตองแมนยําและเชื่อถือได



               7.1 การจัดประเภทและการรวมกลุมขอมูล


               ขอมูลสารสนเทศประกอบดวย 2 สวน คือ ขอมูลสาลักษณและขอมูลอรรถาธิบาย การจัดประเภทและ

               การรวมกลุมขอมูลในทางปฏิบัติจะกระทําไดกับขอมูลทั้ง 2 สวน (ซึ่งขอมูลทั้ง 2 สวนจะมีการเชื่อมโยง

               กันอยูแลว)  วัตถุประสงคของการจัดประเภทและรวมกลุมขอมูลนี้มีใหเลือก 2 ประการ คือ ประการ
               แรกคือ จัดกลุมของขอมูลที่สามารถตอบสนองตอการวางแผนและวิเคราะหโครงการอันเกี่ยวของกับ

               ขอมูลนําเขา (ที่ไมไดมีการจัดกลุม หรือมีการจัดกลุมแตไมเหมาะสมกับตองการของผูใชงาน) ดังนั้นจึง

               ตองมีกระบวนการจําแนกกลุมใหมหรือจัดประเภทขอมูลใหมใหเปนขอมูลกลุมใหมตามที่ตองการ
               ประการที่สอง คือ ความตองการในการปรับแกคาความละเอียดของขอมูล/ภาพ เนื่องจากขอมูล/ภาพที่

               นําเขาไมตรงกับคาความละเอียดที่ตองการ ทําใหมาตราสวนเกิดผิดพลาดจึงตองอาศัยกระบวนการนี้

               เปนการปรับปรุงขอมูลใหมีคาความละเอียดถูกตอง การจัดประเภทขอมูลและรวมกลุมจะเกี่ยวของกับ
               เทคนิคหลายประการเชน การจําแนกขอมูล การดําเนินการขอมูลอรรถาธิบาย การซอนทับรูปปดหลาย

               เหลี่ยม การหลอมขอบเขตพื้นที่ และพื้นที่กันชน


               7.1.1 การจําแนกขอมูล (Data Classification)



               การจําแนกขอมูลอาศัยหลักการทางสถิติเบื้องตนเกี่ยวกับการแบงชวงของขอมูล ซึ่งรูปแบบการแบง

               ชวงชั้นขอมูลที่นิยมใชในโปรแกรม Arcgis and Arcview แบงออกไดเปน 5 วิธีดังนี้ คือ วิธีแบงชวงที่มีคา
               เทากัน แบงสี่สวน แบงกลุมตามคาของขอมูลเดิม แบงกลุมใหมีพื้นที่เทากัน และแบงกลุมตามสวน

               เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยแตละแบบมีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้คือ

                              -  ชวงที่มีคาเทากัน (Equal Interval)  เปนการแบงขอมูลใหแตชวงมีคาคงที่เทากัน  ซึ่ง

               หาคาไดจากพิสัยหารดวยจํานวนชั้นขอมูล ตัวอยางถาตองการแบงขอมูลระหวาง 1-60 ดวยคาชวงชั้น
               ที่เทากัน 3 ชั้นชั้นขอมูลโดยใหมีคาความกวางของอันตรภาคชั้นเทากับ 20  สามารถแบงกลุมไดดังนี้

               คือ 1-20 21-40 และ 41-60

                              -  แบงกลุมตามคาของขอมูลเดิม (Natural Breaks) โดยอาศัยวิธีของ Jenks (1967) ซึ่ง
               หลักการหาคาเหมาะสมของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กลาวคือ จะหาคาเฉลี่ยที่เหมาะสมต่ําสุดของสวน

               เบี่ยงเบนมาตรฐานจากชั้นตัวเองอยู และเปรียบเทียบกับคาสูงสุดของของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจาก

                                                          -121-
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135