Page 131 -
P. 131

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ชั้นอื่นเพื่อลดสวนเบี่ยงเบนภายในชวงชั้นและใหแตละชวงชั้นมีความแปรปรวนตางกันใหมากที่สุด

               สําหรับโปรแกรม Arcview จะกําหนดการแบงกลุมแบบนี้เปนแบบเริ่มตนคาโดยปริยาย (Default)
                              -  แบงสี่สวน (Quantiles) เปนการแบงขอมูลออกเปนสี่สวนโดยแตละสวนจะมีจํานวน

               ขอมูล/สาลักษณในจํานวนที่เทากันทั้ง 4 ชวงชั้น  ยกตัวอยางเชน ถามีขอมูลถนนจํานวนทั้งสิ้น 40 สาย

               ทาง วิธีนี้ก็จะแบงสายทางออกเปน 4 กลุม กลุมละ 10 สายทาง
                              -  พื้นที่เทากัน (Equal  Area)    วิธีการนี้เปนการแบงชวงชั้นขอมูลสําหรับสาลักษณรูป

               ปดหลายเหลี่ยมใหแตละชวงชั้นที่ถูกแบงมีพื้นที่เทา ๆ กัน เปนวิธีเฉพาะสําหรับโปรแกรม   Arcview

               เทานั้น
                              -  สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีนี้เปนการแบงชวงชั้นขอมูลตามการแบงชวงขอมูล (ออก

               หางจากคาเฉลี่ ซึ่งถือวาเปนตําแหนงกึ่งกลาง) ดวยคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานภายใตการกระจายขอมูล

               แบบปกติ


               ตัวอยางการจําแนกขอมูลดวยวิธีตาง ๆ แสดงดังรูปที่ 7.1



               7.1.2 การดําเนินการขอมูลอรรถาธิบาย (Attribute Operation)


               เทคนิคนี้เนนการดําเนินการกับขอมูลอรรถาธิบายเปนหลักมักจะนิยมใชในกรณีที่ขอมูลอรรถาธิบาย

               เดิมมีการแบงกลุมหรือลงรหัสไมเหมาะสมกับความตองการที่จะนําขอมูลไปวิเคราะหผล จึงตองมีการ

               จัดกลุมใหมเพื่อใหไดกลุมขอมูลตรงตามวัตถุประสงค ในทางปฏิบัติการดําเนินการดานขอมูล
               อรรถาธิบายถาหากมีการเปลี่ยนแปลงกลุมขอมูลดวยการสรางเขตขอมูลใหมยอมสงผลใหเกิดการ

               สรางสาลักษณใหมเกิดขึ้นจากกระบวนการนี้ เชน รูปที่ 7.2 เปนตัวอยางการจัดกลุมใหมจากเขตขอมูล

               การใชประโยชนที่ดินซึ่งเดิมไดมีการแบงประเภทการใชที่ดินออกเปน พื้นที่สําหรับการปลูกขาว  ถั่ว
               เหลือง  ขาวโพด  มะเขือเทศ และมันฝรั่ง ถาตองการดําเนินการจําแนกประโยชนการใชที่ดินใหมโดย

               ตองการแบงประเภทเปน การปลูกพืชชนิดธัญพืช และผักผลไม  จะเห็นไดวาการปลูกขาว  ถั่วเหลือง

               และขาวโพดจะถูกจัดใหเปนธัญพืช สวนการปลูกมะเขือเทศและมันฝรั่งจะถูกจัดใหเปนผักผลไม ดัง
               แสดงในรูป 7.2 ข  เมื่อทําการจําแนกประเภทใหมแลวควรจะมีกระบวนการหลอมรวมพื้นที่ดังแสดงใน

               รูป 7.2 ค














                                                          -122-
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136