Page 133 -
P. 133

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว














































                               รูปที่ 7.2 เปนการจัดกลุมใหมดวยวิธีดําเนินการขอมูลอรรถาธิบาย


               7.1.3 การซอนทับสาลักษณ (Overlay Feature)



               เทคนิคนี้มักจะเกี่ยวของกับการรวมกลุมหรือการสกัดขอมูลจากขอมูล 2 ชั้นขอมูล (2 Layers) ขึ้นไป

               เมื่อพูดถึงการซอนทับสาลักษณสวนใหญจะเปนการกลาวถึง “เทคนิคการซอนทับรูปปดหลายเหลี่ยม”
               เปนหลัก เทคนิคนี้จะเปนการสรางขอมูลใหมจากการซอนทับกันระหวาง รูปปดหลายเหลี่ยมกับรูปปด

               หลายเหลี่ยม  รูปปดหลายเหลี่ยมกับเสน และรูปปดหลายเหลี่ยมกับจุด ซึ่งรูปแบบเหลานี้จะทําใหได

               ขอมูลหลายระเบียน (เชน รูปปดหลายเหลี่ยมซอนทับกันหรือซอนทับกับเสน)  หรือจํานวนระเบียนเทา
               เดิมก็ได  (เชน รูปปดหลายเหลี่ยมซอนทับกับจุด) ตัวอยางการซอนทับแบบตาง ๆ แสดงดังรูปที่ 7.3-

               7.8  เทคนิคการซอนทับกันจะมีฟงกชันทางคณิตศาสตรมาเกี่ยวของซึ่งเรียกวา “ฟงกชันคณิตศาสตร

               ของการซอนทับขอมูลสาลักษณ”  ในโปรแกรม Arcview การดําเนินการซอนทับสาลักษณจะประกอบ
               ไปดวยการนําเขาขอมูลจํานวน 2  ชั้น และผลลัพธจะไดชั้นขอมูลใหม โดยชั้นขอมูลนําเขาชั้นแรกจะ

               เรียกวา “In-Theme”  หรือ “Input  Theme”  ซึ่งหมายถึง ชั้นแผนที่ฐาน (สวนที่ถูกกระทํา)  และชั้นที่ 2

               เรียกวา “Operation-Theme” ซึ่งหมายถึง ชั้นแผนที่ที่จะใชเปนตัวกระทํากับแผนที่ฐาน  สวนชั้นผลลัพท
               จะเรียกวา “Out-Theme” หรือ “Output  Theme”   หมายถึงแผนที่ผลลัพธที่เกิดจากการกระทํา

               Operation  นั้น ๆ ในที่นี้จะกลาวเฉพาะ Operation-Theme  และ Out-Theme  เทานั้นเพราะ In-Theme

                                                          -124-
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138