Page 126 -
P. 126

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              ตัวอยางแฟมขอมูลนี้จะประกอบไปดวย  main  file  header  ขนาด 100  bytes  (บรรจุ

               ขอมูลทั้งสิ้น  17  เขตขอมูล  ประกอบดวย  9 เขตขอมูล  (4-byte= 32-bit  signed  integer  or  int32)
               integer และ 8 เขตขอมูล (8-byte = double signed floating point)

                              -  *.shx  จะทําการจัดเก็บรูปแบบดัชนีขอมูล shape file  ทั้งหมด เชน ขอมูลตําแหนง

               ของดัชนีแสดงรูปรางสาลักษณที่ชวยในการคนหาขอมูลทั้งไปขางหนาและยอนหลังไดอยางรวดเร็ว
               ตัวอยางแฟมขอมูลนี้จะประกอบไปดวย shapefile index contains the same 100-byte ตามดวย 8-

               byte fixed-length records รวมเปน 108 bytes

                              - *.dbf  จะทําการจัดเก็บขอมูลรูปแบบประเภทขอมูลอรรถาธิบาย  เชน  แตละสดมภ
               เก็บขอมูลอธิบายถึงสิ่งใดที่เกี่ยวของกับสาลักษณนั้นจะอยูในรูปของ dBase IV  และขอมูลตําแหนงที่

               สอดคลองกับการคนหาขอมูลใน shape file ความจุของไฟล dbf ตองขึ้นอยูกับขนาดความจุของตัวแปร

               ที่ประกาศใชในแตละเขตขอมูล/สดมภ (ขนาดความจุของตัวแปรแตละประเภทแสดงแลวในตาราง 6.1)
                              -*.prj เปนไฟลแสดงถึงรูปแบบของ projection format เชน ระบบพิกัดอางอิงทางราบ

               และทางดิ่ง ขนาดไฟลจะไมเกิน 1 kb

                              - .sbn and .sbx เปนไฟลที่ใชจัดเก็บดัชนีของสาลักษณแตละประเภท ขนาดไฟลจะไม

               เกิน 1 kb


               6.6 เนื้อหาที่จะกลาวถึงในบทตอไป



               เนื้อหาในบทตอไปจะไดอธิบายถึงขั้นตอนที่สองของกระบวนการดําเนินการดานสารสนเทศทาง
               ภูมิศาสตรซึ่งเกี่ยวของกับการปรับแตงขอมูล และการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ โดยเนื้อหาจะประกอบไป

               ดวยการจัดประเภทและการรวมกลุมขอมูล การดําเนินการทางเรขาคณิต การแปลงโครงสราง ความ

               เชื่อมตอรอบวัตถุ การวัด การวิเคราะหทางสถิติ และการพัฒนาแบบจําลองเชิงพื้นที่ กระบวนการ

               เหลานี้ถือวาเปนกระบวนการยอยซึ่งอาศัยเทคนิคทางคณิตศาสตรเพื่อปรับแตงขอมูล และการวิเคราะ
               ขอมูลออกมาไดอยางถูกตองแมนยําและเชื่อถือได



               6.7 สรุปเนื้อหาบทที่ 6



               ฐานขอมูลเชิงวัตถุ เกิดจากแนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-oriented Program: OOP) ซึ่งจะ

               มองทุกสิ่งเปนวัตถุแตละวัตถุ ซึ่งเปนแหลงรวมของขอมูลและการดําเนินการปฏิบัติ เนนใชงานวัตถุนั้น
               ซ้ํา ๆ โดยจะมี Classes  เปนสิ่งที่กําหนดคุณสมบัติ รายละเอียดของวัตถุ และคุณสมบัติบางประการที่

               ตองซอนไวเพื่อเปนการปกปดความลับของวัตถุนั้น



                                                          -117-
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131