Page 121 -
P. 121

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               6.2 การจัดเก็บขอมูลตารางของระบบจัดการฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร



               การจัดเก็บขอมูลในตารางเปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับฐานขอมูลภูมิศาสตรซึ่งสัมพันธกับแมแบบที่

               ใชสรางวัตถุ (Object Classes) หรือสาลักษณ (Feature Classes) ตารางแตละตารางจะมีความเชื่อมโยง
               กับสาลักษณประเภทใดประเภทหนึ่งเทานั้น เชน สาลักษณแบบจุดของตําแหนงหมูบานยอมเชื่อมโยง

               กับตารางที่เก็บขอมูลอรรถาธิบายที่เกี่ยวของกับหมูบานเทานั้น   ดังไดกลาวมาแลววา Object Classes

               จะเก็บขอมูลเพียงวัตถุ/สาลักษณชนิดเดียวเทานั้นซึ่งจะเปนไปตามมาตรฐานตารางฐานขอมูลในระบบ
               DBMS ซึ่งเปนฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Databases, RDBMS) กับวัตถุโดยจะมีการบรรจุขอมูล

               ภายใตแถวและสดมภที่กํากับไว  คุณสมบัติที่สําคัญของฐานขอมูลแบบนี้คือสามารถเชื่อมโยงตารางเขา

               ดวยกันดวยกุญแจรวม/คียรวม (Join Key) โดยคียรวมที่ใชอาจจะเปนคียหลัก (Primary Key) คียอื่น ๆ
               (Alternate Key) หรือ คียนอก (Foreign Key) ก็ไดขึ้นอยูกับความสัมพันธที่เชื่อมตอในแตละตาราง คีย

               เหลานี้จะตองกําหนดวาเขตขอมูลใด (Attribute) ในตารางจะใชเปนตัวเชื่อมตอ


               Object Classes ในฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรจะเรียกตามชื่อโปรแกรมที่ตั้งไว เชน

               โปรแกรม Arc Gis ก็จะเรียกวา “Layer” สวน Arc view ก็จะเรียกวา “Theme”


               ตัวอยางฐานขอมูลตารางในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรแสดงดังรูปที่ 6.5  จากรูปเปนชั้นขอมูลแสดง

               โดยโปรแกรม Arcgis10.1 มีขอมูลอยูทั้งหมด 6 ชั้นขอมูล (Layer) มีสาลักษณที่แสดงอยู 2 ประเภทคือ

               จุด (2 Layers) และรูปปดหลายเหลี่ยม (4 Layers)




























                                   รูปที่ 6.5 การแสดงผลชั้นขอมูลดวยโปรแกรม Arcgis 10.1




                                                          -112-
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126