Page 119 -
P. 119

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              - ฐานขอมูลลําดับชั้น  (Hierarchical DBMS)  เปนฐานขอมูลที่มีความสัมพันธแบบหนึ่ง

               ตอหนึ่งหรือหนึ่งตอหลายสวนก็ได แตจะไมมีความสัมพันธแบบหลายสวนตอหลายสวน โครงสราง
               ความสัมพันธของขอมูลบางทีเรียกวา “แบบพอ-ลูก” หรือ “แบบตนไม” ฐานขอมูลนี้จะมีประสิทธิภาพ

               ในการคนหาขอมูลหรือจัดเก็บขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรก็จะตองทําตามลําดับชั้นโครงสรางขอมูล

               เทานั้น  ตัวอยางคําถาม เชน ตองการคนหาขอมูลจํานวนโรงเรียนในแตละจังหวัด  จะตองคนหาขอมูล
               จังหวัดกอน แลวคนหาในอําเภอ แลวคนหาในตําบลที่โรงเรียนนั้นตั้งอยู อีกตัวอยางเกี่ยวกับสินคา เชน

               ถาตองการคนหาขอมูลวาวิศวกรฝายขายวาขายสินคาอะไรบาง จะตองเริ่มคนหาขอมูลชื่อพนักงานใน

               บริษัท แลวไปคนขอมูลในตารางลูกคา แลวคอยไปคนขอมูลในตารางลูกคานั้นซื้อสินคาอะไร
                              - ฐานขอมูลเครือขาย (Network DBMS) เปนฐานขอมูลที่มีความสัมพันธกันแบบใดก็ได

               (One to One, One to Many or Many to Many) ไมจําเปนตองมีลําดับชั้นที่สูงกวา ทําใหการคนหา

               ขอมูลงายกวาแบบลําดับชั้น และการเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางตารางเปนไปไดทั้งแบบ 1:1, 1:M และ
               M:M ก็ได โครงสรางแบบนี้จะเปนการรวมระเบียนตาง ๆ และความสัมพันธระหวางระเบียนเขาดวยกัน

               ซึ่งแสดงความสัมพันธอยางชัดเจนซึ่งทําใหการคนหาขอมูลยอนกลับไปกลับมาระหวางตารางตางได

               ขอสังเกตเกี่ยวกับลักษณะของฐานขอมูลระหวางฐานขอมูลแบบเครือขายกับแบบลําดับชั้นโดยสวนใหญ

               จะมีลักษณะคลายกันแตมีขอแตกตางกันคือ ฐานขอมูลแบบชั้นจะมีการเชื่อมโยงขอมูลไดเพียงระเบียน
               เดียวเทานั้น (ในแตละกรอบจะมีลูกศรวิ่งเขาหาไดไมเกิน 1 หัวลูกศร)



               Star. and Estes. (1990), ยังไดสรุปไววาในปจจุบันฐานขอมูลแบบเชิงสัมพันธเปนที่นิยมกวาฐานขอมูล
               แบบนําทางนี้ ถึงแมวาฐานขอมูลแบบนําทางนี้จะทําใหการคนหาและตอบสนองตอการคนหาไดอยาง

               รวดเร็วกวาฐานขอมูลแบบสัมพันธ (RDBMS) ก็ตาม สาเหตุที่ผูใชนิยมใชฐานขอมูลแบบสัมพันธนี้เพราะ

               การประยุกตใชงานงายกวาและสะดวกตอผูใชมากกวาระบบฐานขอมูลแบบอื่น ๆ


               6.1.5 บทบาทและความสัมพันธของระบบจัดการฐานขอมูลกลางกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร



               ระบบการจัดการฐานขอมูลกลาง (Middle-tier, middleware) เปนระบบตัวกลางที่เพิ่มประสิทธิภาพการ
               จัดการฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรซึ่งจะทําหนาที่สนับสนุนการรองรับขอมูลที่เชื่อมระหวาง

               ฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตรกับระบบฐานขอมูลอื่น ๆ เปนตัวกลางที่สรางความยืดหยุน

               ทางดานการจัดการไฟลขอมูล ประเภทขอมูล อํานวยความสะดวกในการจัดเก็บ แกไข การคนหา และ
               รักษาความปลอดภัยของฐานขอมูล และยังมีฟงกชันการทํางานเกี่ยวกับขอมูลไดมากขึ้น ตอบสนอง

               ความตองการการใชขอมูลทั้งในรูปแบบทันกาลผานระบบแมขาย (Server) หรือไมทันกาลก็ได แสดงดัง

               รูปที่ 6.4




                                                          -110-
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124