Page 115 -
P. 115

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              - ไบต (Byte) คือ หนวยความจําในการจัดเก็บขอมูลขนาด 8  บิต  จะจัดเก็บขอมูลได

               ทั้งสิ้น 28 =256 คา เชน จัดเก็บขอมูลที่มีคาระหวาง 0 ถึง 255 หรือ -127 ถึง 128 หรือ -128 ถึง 127
                              - เขตขอมูล (Field or Attribute) คือ ภาษาระบบจัดการฐานขอมูลเปนภาษาที่ใชในการ

               เขียนโปรแกรมประเภทจัดการฐานขอมูล

                              - ระเบียน (Record or Tuple) คือ เขตขอมูลหลาย ๆ เขตมารวมกัน
                              - ความสัมพันธ (Relation)  คือ หนวยที่ใชจัดเก็บขอมูลที่อยูในรูปแบบตาราง 2 มิติที่

               ประกอบไปดวยแถว และสดมภ ดังนั้นแถวของ Relation ก็คือ ขอมูล 1 ระเบียน (Record)

                              - แฟมขอมูล หรือ ไฟล (File) คือ ระเบียนแตละระเบียนของขอมูลชนิดเดียวกันที่นํา
               รวมกัน



               ประเภทของขอมูลในภาษา Visual Basic (VB) และภาษาซี (C) จะแบงขอมูลออกเปนประเภทตาง ๆ ดัง
               ตารางที่ 6.1



               6.1.3 ความสัมพันธในขอมูล (Relation) ระหวางตาราง


               ระบบฐานขอมูลที่ออกแบบมาเปนอยางดี จะตองมีการเชื่อมโยงขอมูลระหวางตารางที่สัมพันธกันดวย

               คียหลัก  (Primary  Key)  หรือ คียนอก (Foreign Key)   ซึ่งความสัมพันธในฐานขอมูลประกอบไปดวย

               ความสัมพันธตามฟงกชันคณิตศาสตร 3 แบบ ดังนี้

                              - ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One to One Relation, 1:1)  คือความสัมพันธของ
               ขอมูลจากระเบียนหนึ่งไปเชื่อมไปยังระเบียนหนึ่งของอีกตารางไดเพียงระเบียนเดียวเทานั้น เมื่อ

               พิจารณาตามตัวอยางดังรูปที่ 6.1 ตาราง A แสดงขอมูลเกี่ยวกับตําบล ประกอบดวยรหัสตําบลและชื่อ

               ตําบล สวนตาราง B  แสดงขอมูลรหัสตําบล พื้นที่ตําบล ขอบเขตรอบ ๆ ตําบลและชื่ออําเภอ ตัวอยาง
               จะเปนการเชื่อมโยงขอมูลในตาราง A และ B ดวยตัวเชื่อมเขตขอมูลชื่อ  รหัสตําบล (TAMBOL_IDN) ซึ่ง

               สงผลใหสามารถคนหาขอมูลพื้นที่ตําบล ขอบเขตรอบ ๆ ตําบลและชื่ออําเภอ ไดดวยการพิมพชื่อ

               อําเภอ
                              - ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหลายสวน (One to Many Relation, 1:M) คือความสัมพันธ

               แบบธรรมดาที่สุด ซึ่งเปนการเชื่อมโยงขอมูลจากระเบียนหนึ่งของตารางหลักไปยังหลาย ๆ ระเบียนของ

               ตารางยอย เมื่อพิจารณาตามรูปที่ 6.2 ตาราง A  ซึ่งเปนตารางหลักที่กําหนดคารหัสและความหมาย
               เกี่ยวกับขอมูลจังหวัดไว สวนตาราง B เปนตารางยอยหรืออาจจะเรียกวาตารางลูก เปนตารางที่แสดง

               รายละเอียดของชื่ออําเภอ จํานวนโรงเรียนในแตละอําเภอ จะเห็นไดวาการเชื่อมโยงระหวางสองตาราง

               จะใชรหัสจังหวัด (ถือวาเปน คียหลัก) เปนตัวเชื่อมโยง ดังนั้นเราสามารถคนหาจํานวนโรงเรียนทั้งหมด
               ที่อยูในจังหวัดไดจากความสัมพันธแบบนี้


                                                          -106-
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120