Page 110 -
P. 110
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตัวอยางที่ 2 ถาแผนที่ฉบับหนึ่งเขียนไววา คาความผิดพลาดทางราบดวยคา RMS เทากับ 50
เซนติเมตร พรอมกับแสดงคาเสนชั้นความสูงเทากับ 1 เมตร วิศวกรสํารวจตองการตรวจสอบความ
ถูกตองของแผนที่นี้ดวยการทําการรังวัดภาคสนามดวยกลองสํารวจเปนระยะทางทั้งสิ้น 5 กิโลเมตร ถา
วิศวกรปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบคาความถูกตองของแผนที่ตามวิธีของ FGCC แลวแผนที่ฉบับนี้
จะมีความถูกตองจะตรงกับระดับงานใดตามมาตรฐานของ ASPRS
วิธีทํา
- การตรวจสอบความถูกตองทางราบ
วิธีปฏิบัติงานของ FGCC คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางราบ เทากับ 1/3 ของ RMS ซึ่งมีคา
เทากับ 0.50/3=0.1667 เมตร
5,000 m
เมื่อพิจารณาสมการที่ 5.2 คา = = 30,000 ดังนั้นคา 1:a จึงเทากับ 1:30,000 เมื่อ
0.50/3m
ตรวจสอบตามมาตรฐานของ ASPRS (ตารางที่ 5.2) จะตรงกับระดับที่ 2 ชั้น 2
- การตรวจสอบความถูกตองทางดิ่ง
คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางราบเทากับ 1/20 ของ CI ซึ่งเทากับ 1/20=0.050 เมตร หรือ 50
50 mm
มิลลิเมตร เมื่อพิจารณาสมการที่ 5.3 คา = = 22.4 mm/√km
√5 km
ดังนั้นเมื่อตรวจสอบคา b ตามมาตรฐานของ ASPRS (ตารางที่ 5.3) จะตรงกับงานระดับที่ 3 เทานั้นเอง
จากตัวอยางนี้จะเห็นไดวาการใชแผนที่นี้อางอิงงานสํารวจทางดิ่งเหมาะสําหรับใชงานไดเพียงงานระดับ
ที่ 3 เทานั้น
5.4 เนื้อหาที่จะกลาวถึงในบทตอไป
เนื้อหาในบทตอไปจะไดอธิบายถึงขั้นตอนที่ 2 ของการดําเนินงานดานสารสนเทศทางภูมิศาสตรโดยจะ
กลาวถึงพื้นฐานเกี่ยวกับการสรางและจัดการฐานขอมูล ซึ่งประกอบไปดวยเนื้อหาสวนยอย 5 สวน
ดังตอไปนี้คือ ระบบจัดการฐานขอมูล การจัดเก็บขอมูลตารางของระบบจัดการฐานขอมูลสารสนเทศ
ภูมิศาสตร ภาษาสอบถามเชิงโครงสราง กระบวนการออกแบบฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรและ
การคํานวณความจุของฐานขอมูล
-101-