Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               5.2.2 การตรวจสอบเพื่อระบุตําแหนง


               การตรวจสอบเพื่อระบุตําแหนง ที่ถูกตองของวัตถุ เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบความ

               ถูกตองเชิงตําแหนงบนโลกของวัตถุเชิงพื้นที่  (เชน ภาพถายทางอากาศ ภาพถายดาวเทียม  สาลักษณ

               แบบจุด สาลักษณแบบเสน สาลักษณแบบพื้นที่ปด และอื่น  ๆ ) ถาหากเปนขอมูลปฐมภูมิก็จะมีการ

               ตรวจสอบความถูกตองการบันทึกตัวเลขตาง ๆ กอนเปนประการแรกวาบันทึกไดถูกตองหรือไม
               หลังจากนั้นไมวาจะเปนขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิก็จะนําไปตรวจสอบเทียบกับขอมูลเชิงตําแหนงที่มี

               การอางอิงจากแหลงที่นาเชื่อถือได เพื่อพิสูจนวาตรงตําแหนงนั้นจริงบนโลกหรือไม


               จะเห็นไดวางานในสวนที่ 1 (การแปลงรูปแบบขอมูล และการตรวจสอบเพื่อระบุตําแหนงที่ถูกตอง) เปน

               กระบวนการที่ใชเวลานานและสิ้นเปลืองงบประมาณสูง ดังนั้นจึงมีผูพยายามคิดคนจัดสรางโปรแกรม

               อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติเพื่อลดระยะเวลาในการทํางานและงบประมาณในการทํางานในสวนนี้


               5.2.3  การสรางระบบที่สอดคลองกันสําหรับการบันทึกขอมูลที่นําเขา และการเชื่อมโยง

               ตําแหนงของวัตถุกับชุดขอมูล


               งานในสวนที่สองนี้มีวัตถุประสงค เพื่อการติดตามบริหารจัดการขอมูลเชิงพื้นที่ในอนาคตไดงาย  ซึ่ง

               การสรางระบบที่สอดคลองกันสําหรับการบันทึกขอมูลที่นําเขาเปนกระบวนการที่ตองมีการสรางระบบ

               ใหขอมูลตาง ๆ มีความสอดคลองกันสามารถทํางานรวมกันได ตองมีการกําหนดคุณภาพ วิธีการ
               เงื่อนไขในการบันทึกจัดเก็บขอมูลไวในระบบฐานขอมูล ใหมีระดับความถูกตองของขอมูลที่เหมาะสม

               หลังจากนั้นเปนการระบุเชื่อมโยงวัตถุกับชุดขอมูลเพื่อใหเกิดความสมบูรณของระบบสารสนเทศ

               ภูมิศาสตรที่ประกอบไปดวยวัตถุเชิงพื้นที่และขอมูลอรรถาธิบายเขาดวยกัน


               5.3 การตรวจสอบขอมูล




               ขั้นตอนนี้ประกอบไปดวยการตรวจสอบขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่และขอมูลอรรถฐาธิบาย การตรวจสอบ
               ขอมูลพื้นที่ทําไดดวยการพิมพแผนที่ออกมาทางกระดาษแลวตรวจสอบตําแหนงพิกัดจากขอมูลที่ได

               จากการสํารวจทางภาคสนามเดิมหรือจะทําการสุมสํารวจใหมในบางจุดก็ได การตรวจสอบพิกัดเสร็จ

               แลวตองทําการตรวจสอบความครบถวนสมบูรณขององคประกอบที่สําคัญของแผนที่  (ดังไดกลาว
               มาแลวในหัวขอ 4.2.1 เรื่ององคประกอบของแผนที่) เชน  ตรวจสอบความถูกตองและครบถวนของตัว

               แผนที่ หัวเรื่องแผนที่ คําอธิบาย มาตราสวน ตัวบงชี้ทิศทาง ขอมูลที่จําเปนบนแผนที่และสัญลักษณตาง



                                                          -96-
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110