Page 103 -
P. 103

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








               ถาทําการดิจิไตซภาพแผนที่กระดาษบนจอคอมพิวเตอร ควรเลือกคาความละเอียดในชวง 200–300
               DPI ก็พอแลว   ถาทําการดิจิไตซภาพถายทางอากาศ  (ซึ่งเปนดิจิตัลไฟลอยูแลว)  บนหนาจอ

               คอมพิวเตอรที่ตองการความละเอียดสูงโดยปกติควรเลือกคาความละเอียดอยางนอย 800 DPI ถาหาก

               กระบวนการดิจิไทซภาพถายอากาศหรือดาวเทียมดวยวิธีอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติโดยทั่วไปจะตองการ
               ความละเอียดสูงและความหนาของเสนที่อยูบนแผนที่จะตองครอบคลุมอยางนอย 3 จุดภาพ (เพื่อที่จะ

               เลือกบันทึกตําแหนงตรงกลางของเสน) สําหรับงานแผนที่ แตถาหากภาพถายทางอากาศนั้นเปนแผนที่

               กระดาษและทําการดิจิไตซดวยมือคาความละเอียดที่อยูในชวง  300–600 DPI ก็เพียงพอแลวสําหรับผู
               ที่จะลากหรือวาดเสน  (Rolf et al., 2001)



               กระบวนการสแกนเพื่อที่จะนําภาพแผนที่กระดาษเขาสูระบบไฟลอยางสมบูรณ เพื่อใหภาพเกิดความ
               คมชัดขึ้นจะประยุกตใชเทคนิคกระบวนการประมวลผลภาพ ซึ่งประกอบไปดวยการปรับแกคาการ

               สะทอนของสี การปรับคาความสวาง และการปรับแกคาความแตกตางระหวางความสวางและความมืด

               และหรือการขจัดสิ่งแปลกปลอมบนจุดภาพ เชน ภาพหายไป เสนไมเรียบ มีริ้วรอยเกินมาบนภาพ


               5.2 การเตรียมขอมูล




               การเตรียมขอมูล เปนกระบวนการในขั้นตอนที่ 2 ตอจากกระบวนการไดมาซึ่งขอมูล กระบวนการนี้
               เกี่ยวของกับการเตรียมขอมูลใหอยูในรูปของไฟลขอมูลที่เหมาะสมประกอบไปดวยงานหลัก 2 สวนหลัก

               Star and Estes (1990) ดังนี้ สวนที่ 1 คือการแปลงรูปแบบขอมูล และการตรวจสอบเพื่อระบุตําแหนง ที่

               ถูกตองของวัตถุกับขอมูลที่อางอิงไดอยางเปนระบบ และสวนที่ 2 คือ การสรางระบบที่สอดคลองกัน
               สําหรับการบันทึกขอมูลที่นําเขา และการเชื่อมโยงตําแหนงของวัตถุกับชุดขอมูล ขั้นตอนในการเตรียม

               ขอมูลนี้  Anji Reddy (2008) ไดยกตัวอยางถึงกระบวนการที่จําเปนสําหรับการเตรียมขอมูลนี้ประกอบ

               ไปดวย การแปลงรูปแบบ การลดทอนขอมูลและจัดกลุมเหมือน การลบขอมูลที่ผิดและแกไขขอมูล การ
               ผนวกรวมจุดเปนเสนและผนวกเสนเปนพื้นที่ปด การจับคูขอบและซอนทับขอบ การตรึงใสพิกัดและตรึง

               พิกัดบนแผนที่ การประมาณคา และ การตีความหมาย


               5.2.1 การแปลงรูปแบบขอมูล



               เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการจัดรูปแบบขอมูลดวยการดัดแปลงแกไขประเภทของขอมูลดวยการ

               สกัด ขอมูลขาวสารจากแฟมขอมูลที่นําเขาจากแหลงตาง ๆ แลวจัดเก็บใหอยูในฐานขอมูล ที่เหมาะสม
               รูปแบบของขอมูลแยกตามโครงสรางในการจัดเก็บขอมูล  คือ  รูปแบบเวกเตอร และรูปแบบแรสเตอร

                                                          -94-
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108