Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               งบประมาณสูงมาก ดังนั้นตองอาศัยความรูที่จะนําเขาขอมูล ปรับแกขอมูลใหถูกตองกอนที่จะนํามาใช

               งาน ซึ่งนิสิตนักศึกษาจะตองศึกษาในวิชาการรับรูระยะไกล หรือวิชาโฟโตแกรม เพื่อที่จะเขาใจหลักการ
               ไดมาซึ่งขอมูลและการนําเขาขอมูลที่ถูกตองจากวิชาดังกลาวกอนที่จะนํามาประยุกตใชงานไดถูกตอง



               5.1.2 การนําเขาขอมูลจากดิจิไทซแผนที่กระดาษ


               ถาหากเราไมสามารถเก็บรวบรวมขอมูลเองไดและไมสามารถหาขอมูลเชิงพื้นที่ในรูปไฟลไดแลว วิธีนี้

               ถือวาเปนวิธีที่เหมาะสมที่สุดวิธีหนึ่ง งบประมาณและเวลาก็ใชไมมาก แตความถูกตองอาจจะไมเทากับ

               การเก็บรวบรวมเองเพราะความละเอียดจะไดเทากับมาตราสวนและรายละเอียดตาง ๆ ที่ถูกบรรจุไว
               บนแผนที่นั้นซึ่งผูใชงานตองยอมรับขอผิดพลาดตาง ๆ ที่ผูจัดทําแผนที่ไดจัดทําแผนที่นั้น ๆ ไว วิธีนําเขา

               ขอมูลแบบนี้เปนวิธีที่นําขอมูลเขาไวในคอมพิวเตอรดวยกระบวนการสแกนแผนที่กระดาษเขาไปเปน

               ดิจิตัลไฟล แลวทําการลากเสน/วาดสาลักษณตาง ๆ ที่ถูกบรรจุไวในแผนที่กระดาษนั้น   นอกจากการ
               ยอมรับขอผิดพลาดจากตนฉบับแผนที่แลวยังมีปญหาเรื่องความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นอีกประการ

               เกี่ยวกับการนําเขาขอมูลดวยวิธีนี้คือ ความชํานาญและความสามารถของผูวาดสาลักษณเอง ไมวาจะ

               เปนเทคนิคการขยับมือ เทคนิคการเลือกตําแหนงควบคุมทางราบและดิ่งจากแผนที่ (โดยเฉพาะอยางยิ่ง
               ตําแหนงควบคุมทางราบตองการอยางนอย 3 จุด) การเลือกรูปแบบวารูปแบบเรขาคณิตที่เห็นในแผนที่

               ตนฉบับควรจะจัดเก็บเปนประเภทไหน (สาลักษณ จุด เสนและพื้นที่ปดหลายเหลี่ยม) ความแมนยําและ

               ความละเอียดของอุปกรณในการดิจิไตซ ดังนั้นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงปญหาเนื่องจากผูนําเขาใหไดมาก

               ที่สุด จึงมีผูคิดคนที่จะนําเขาขอมูลแผนที่กระดาษดวยวิธีอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ เชน การสรางขอมูล
               แผนที่อัตโนมัติ ดวยเทคนิคการแปลงเปนเวกเตอรอัตโนมัติ (Vecterization)



               กระบวนการสแกนภาพอาศัยหลักการวัดคาการสะทอนแสงวัตถุที่ปรากฏเปนภาพในแผนที่โดยการเก็บ
               ขอมูลที่สแกนจะถูกบรรจุไวในแตละจุดภาพ ตามคาความละเอียดของอุปกรณที่สแกนภาพนั้น คาการ

               สะทอนจะเปนภาพสีหรือขาวดําก็ไดแลวแตผูนําเขาจะกําหนด หลักการสแกนภาพก็เปนหลักการ

               เดียวกันกับการถายภาพจากกลองถายรูปเพียงแตเปลี่ยนอุปกรณเปนเครื่องสแกนเทานั้นเอง ดังนั้นก็
               จะใชหลักการวัดคาการสะทอนแสง ถาจัดเก็บในรูปสเกลของภาพขาวดํา หรือภาพสีก็ได แลวจะใชตัว

               บันทึกภาพในรูปของสวนผสมจากแมสี 3 สี คือ แดง เขียวและน้ําเงิน และโดยทั่วไปการจัดเก็บคาการ

               กระสะทอนจะอยูในระบบสเกลแบบ 8 bit    คือเก็บได 256 แถบสี หรือ โดยปกติทั่วไปเครื่องสแกน
               แบบดิจิตัลก็จะจํากัดคาความละเอียดสูงสุด และจํานวนจุดภาพสูงสุดไว ซึ่งคาจํานวนจุดภาพสามารถ

               กําหนดในหนวยจุดภาพตอนิ้ว (Dots-Per-Inch, DPI) ผูใชงานไมควรเลือกที่จะเลือกคา DPI ที่มีคาสูง

               เพราะจะทําใหกระบวนการในการสแกนชามาก คาความละเอียดที่เหมาะสมที่จะเพียงพอขึ้นอยูกับ
               วิธีการดิจิไตซภาพและความชัดเจนหรือความหนาของเสนที่อยูบนแผนที่


                                                          -93-
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107