Page 98 -
P. 98

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              - ระบบอางอิงพิกัดภูมิศาสตรเสนรุงและแวง

                              - ระบพิกัดอางอิงเมอรเคเตอรแบบขวางสากล
                              - ระบบเสนโครงแผนที่กรวยทรงรูปแบบแลมเบิรต

                              - ระบบพิกัดระนาบมลรัฐ

               ในระบบแผนที่ของประเทศไทยแผนที่ที่ครอบคลุมประเทศไทยผลิตโดยกรมแผนที่ทหารแบงตามมาตรา
               สวนหลักคือ 1:50,000 และ1:250,000



               4.7 แบบฝกหัดทบทวนบทที่ 4


               1. จากคาความสัมพันธของพิกัดจากการฉายของ Lambert Cylindrical Equal-Area (1972) กําหนดให

                 x = Rλ และ y = Rsin(φ) จงหาคาของ φ และ λ ในรูปของความสัมพันธเชิงฟงกชันกับ x และ y



               2. จงอธิบายถึงความหมายของคําวา Representative Fraction กับ Scale Factor พรอมทั้งบอกถึงความ
               เหมือนและความแตกตางของสองคํานี้



               3. หลักการคํานวณหาตําแหนงที่อยูบนโลกโดยใชเครื่องรับสัญญาณ GPS (GPS Receiver) สามารถวัด
               คาตําแหนงไดอยางไร แลวสัญญาณที่รับไวเปนคาเพื่อที่จะไปคํานวณตําแหนงไดอยางไร จงอธิบาย

               พรอมทั้งยกตัวอยางสมการความสัมพันธนั้น



               4. ในระบบพิกัด Geographic Coordinates  System  (φ,λ,Z)  คา (φ,λ) จะถูกกําหนดโดยพื้นผิวรูปทรง

               อะไร และคา z หาไดจากผิวใด และเกี่ยวของอยางไรกับ Earth Datum


               5. จงคํานวณหาคาความยาวที่อยูระหวางแนวเสนแวง เสนเมอริเดียน และความยาวที่อยูระหวางเสน

               รุง (เสนขนาน) ที่ตําแหนงพิกัด 15 °N, 100 °E ถากําหนดใหโลกมีรัศมี 6,370 เมตร


               6. เวลาทองถิ่นจะตางกันกี่นาทีถาพิกัดในแนวเสนแวงตางกัน 1 องศา ถาเปรียบเทียบพิกัดเสนแวงกับ

               เวลาของประเทศไทยระหวางกรุงเทพฯ กับ จังหวัดอุบลราชธานีเวลาทองถิ่นของทั้งสองแหงจะตางกันกี่
               นาที จะสงผลตอเวลาดวงอาทิตยขึ้นลงอยางไร



               7. ถาทานมองเห็นดวงอาทิตยอยูสูงจากขอบฟาตะวันออกเปนมุมเงย 60 องศา จงประมาณเวลา

               ทองถิ่นขณะที่สังเกตนั้น ถากําหนดใหวันนี้ดวงอาทิตยขึ้นที่ขอบฟาตะวันออกที่เวลา 05.55 น.


                                                          -89-
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103