Page 118 -
P. 118

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                              - ความสัมพันธแบบหลายตอหลาย (Many to Many, M:M) คือแบบที่ระเบียนของแต

               ละตารางจะจับคูกันไดหลาย ๆ ระเบียนในตารางเดียวกัน เมื่อพิจารณาตามรูปที่ 6.3 ตาราง A ซึ่งเปน
               ตารางหลักที่ขอมูลจังหวัดไว สวนตาราง B เปนตารางประเภทชั้นหินอุมน้ําในแตละจังหวัด เมื่อตองการ

               คนหาขอมูลดิน ก็จะพบวามีหลายประเภทในแตละจังหวัด



               6.1.4 ประเภทของระบบจัดการฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS-DBMS Types)


               ระบบการจัดการฐานขอมูลสามารถจําแนกตามการจัดดําเนินการขอมูล (Manipulation)  ที่ใชในระบบ

               สารสนเทศทางภูมิศาสตรไดออกเปน 3 ประเภท คือ

                              - ระบบการจัดการฐานขอมูลแบบความสัมพันธ (Relational  Database  Management
               System, RDBMS)  การจัดการฐานขอมูลแบบนี้ประกอบไปดวยชุดของตารางซึ่งตารางมีลักษณะเปน

               สองมิติ  (ที่ประกอบไปดวยชุดของแถวและสดมภที่บรรจุขอมูลอธิบายวัตถุที่จัดเก็บไว) ระบบนี้ถือวามี

               โครงสรางในการจัดเก็บขอมูลที่งายกวาระบบอื่นและมีการยืดหยุนของโครงสรางที่ตอบรับการ
               ดัดแปลงรูปแบบการจัดเก็บขอมูลไดดีกวาระบบอื่น ซึ่งปจจุบันนี้กวารอยละ 95  นิยมจัดเก็บขอมูลใน

               รูปแบบนี้เปนหลัก  (Paul et al., 2005)

                              - ฐานขอมูลเชิงวัตถุ (Object  Database  Management  System, ODBMS) ฐานขอมูล
               แบบนี้มุงเนนที่การเก็บขอมูลเปนแบบวัตถุ (Object) ซึ่งมีสวนประกอบที่สําคัญ คือ แมแบบวัตถุ (Class)

               อรรถาธิบาย และตัวเรียกใชที่อางถึงวัตถุ (Instance) ฐานขอมูลแบบนี้ผูใชจะพัฒนาออกแบบฐานขอมูล

               เองจะไมมีทฤษฏีพื้นฐานและไมมีชุดเครื่องมือการพัฒนาการกําหนดรูปแบบฐานขอมูลโดยจะมุงเนน
               การออกแบบและพัฒนาฐานขอมูลเพื่อการแสดงผลในงานดานมัลติมีเดียตาง ๆ เทานั้น  ซึ่งตางจาก

               RDBMS ซึ่งมีรูปแบบฐานขอมูลและเครื่องมือพัฒนาที่ชัดเจน

                              - ฐานขอมูลแบบความสัมพันธเชิงวัตถุ (Object-Relational  Database  Management
               System, ORDBMS) เปนฐานขอมูลที่นําเอาความสามารถของฐานขอมูลแบบความสัมพันธ  (มีจุดเดน

               เกี่ยวกับการอธิบายขอมูลเชิงอธิบายที่สัมพันธกัน)  และเชิงวัตถุ (มีจุดเดนดานการจัดการเชิงวัตถุ)

               ผนวกเขาดวยกันซึ่งเหมาะสําหรับฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนอยางยิ่ง


               ยังมีผูแบงประเภทระบบฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนแบบอื่น ๆ เชน   Star. and Estes.

               (1990)  ไดแบงฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรออกเปน 2  ประเภท คือ ฐานขอมูลแบบความสัมพันธ
               (RDBMS)  และฐานขอมูลแบบนําทาง (Navigational DBMS) ซึ่งฐานขอมูลแบบนําทางนี้ สามารถแยก

               ฐานขอมูลแบบนี้ไดเปนออกเปน 2  แบบคือ ฐานขอมูลลําดับขั้น (Hierarchical DBMS)  และฐานขอมูล

               เครือขาย (Network DBMS)




                                                          -109-
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123