Page 124 -
P. 124

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               การออกแบบเชิงแนวคิดนี้นอกจากจะตองคํานึงถึงการเลือกรูปแบบการจัดเก็บแลวยังจะตองพิจารณา

               ถึงความสัมพันธของวัตถุเชิงพื้นที่ที่จะตองเชื่อมตอกับวัตถุและตารางขอมูลอื่น ๆ อีกดวย และสิ่งที่ตอง
               คํานึงถึงอีกประการคือ การประยุกตใชงานขอมูลวารูปแบบไหนที่จะใชงานไดงายและมีฟงกชันการ

               ทํางานตาง ๆ ในโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตรรองรับหรือไม เพราะทุกอยางเกี่ยวของกับเวลาและ

               งบประมาณในการจัดเก็บและเตรียมขอมูลดวย  สรุปก็คือขั้นตอนนี้จะเกี่ยวของกับ 3 ขั้นตอนยอย คือ
               แนวคิดจากผูออกแบบ (User  View) วัตถุและความสัมพันธของวัตถุเชิงพื้นที่ (Objects and Relation

               ships) และ การเลือกตัวแทนเชิงพื้นที่ (Geographic Representation) ดังแสดงในรูป 6.2




























                                 รูปที่ 6.6 ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร

                                             ดัดแปลงจาก Longley et al. (2005)


                              - การออกแบบดานตรรกวิทยา เปนการเลือกประเภทฐานขอมูลสารสนเทศ

               ภูมิศาสตรใหเหมาะสมกับประเภทสาลักษณ เชน ฐานขอมูล Oracle, Microsoft Access, PostgreSQL,
               MS SQL Server หรือ อื่น ๆ หลังจากนั้นก็จะเปนการเลือกโครงสรางฐานขอมูลซึ่งสัมพันธกับประเภท

               ฐานขอมูลที่ไดเลือกนั้น

                              - การออกแบบดานกายภาพ เปนการออกแบบเคารางฐานขอมูล ( 14Database

               Schema)  14หมายถึง 14การนิยามหรือคําบรรยายของฐานขอมูล ซึ่งประกอบดวย นิยามโครงสราง

               ฐานขอมูล และขอบังคับตาง ๆ ที่ฐานขอมูลซึ่งสัมพันธกับประเภทฐานขอมูล การออกแบบเชิงกายภาพ
               ในทางปฏิบัติจะใชโปรแกรม DBMS  ในการกําหนดรูปแบบจัดการฐานขอมูลดวยภาษา SQL  ซึ่ง

               โครงสรางที่กําหนดจะประกอบไปดวย การกําหนดโทโพโลยี  การระบุกฏและความสัมพันธของขอมูล

               อรรถาธิบาย และ การเลือกระบบพิกัดภูมิศาสตรที่จะจัดเก็บ



                                                          -115-
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129