Page 56 -
P. 56
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
Theories of Marital and Family Therapy
50
เก็บอารมณ์ / แสดงอารมณ์ (Repress / Express emotions)
อุทิศตนให้กับคู่สมรสมาก / น้อย (Less / more devoted to partner)
พึ่งพา / เป็นอิสระ (Dependent / Independent)
มุ่งความสัมพันธ์ / มุ่งความส าเร็จในงาน (Relationship / work oriented)
ใช้อารมณ์ / ใช้เหตุผล (Emotional / Rational)
เรียกร้อง / ถอยห่าง (Demand / Withdraw)
ผู้น า / ผู้ตาม (Leader / Follower)
ระมัดระวัง / ยินยอมพร้อมมั่น (Cautious / Committed)
[2] การเล่นเกม (Game playing)
John Friesen (1985, อ้างถึงใน Young & Long, 1997) ได้เสนอแนวคิดว่า รูปแบบความสัมพันธ์
ของคู่สมรสสามารถอธิบายเหมือนการเล่นเกม (described as game) ตามทฤษฏีการวิเคราะห์การ
สื่อสารระหว่างบุคคล (Transactional Analysis) ของ Eric Berne นักจิตวิเคราะห์ในกลุ่ม Neo-
Freudian โดยในที่นี้จะขอยกตัวอย่างความสัมพันธ์ 4 ลักษณะ ดังนี้
a. สงครามการล้างแค้น (This is war!)
่
คู่สมรสใช้การแก้แค้น พยายามท าให้อีกฝายเจ็บปวดเสียใจมากกว่าที่ตนเองรู้สึก ใช้
่
การโจมตีจุดอ่อนซึ่งเป็นสิ่งที่ส าคัญต่อของอีกฝาย เช่น ครอบครัว การงาน และอื่นๆ
คู่สมรสไม่มีการชื่นชมหรือชมเชยซึ่งกันและกัน
b. ฉันท านี่แล้ว เธอล่ะท าอะไร (I’ve got the debit and you’ve got the credit)
่
คู่สมรสท าเสมือนคิดบัญชีอยู่ตลอด โดยต้องการให้อีกฝายตอบแทนเท่าเทียมกับที่
ตนได้ท าไป เช่น การแบ่งหน้าที่ในการเลี้ยงลูก หรือการรับผิดชอบงานบ้าน
c. ฉันจะไม่คุยเรื่องนี้ (I don’t want to discuss it)
่
เมื่อเกิดความขัดแย้ง คู่สมรสฝายหนึ่งมักไม่ยอมเข้าไปเกี่ยวข้องและท าเหมือนไม่มี
อะไรเกิดขึ้น (disengage and remains cool) มักท าตัวเหนือกว่าและถอยห่าง ท า
่
ให้คู่สมรสอีกฝายรู้สึกถูกดูถูกและไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้
d. ถ้าไม่มีฉัน เธอจะเป็นอย่างไร (Where would you be without me)
่
่
มักเป็นความสัมพันธ์ของคู่สมรสที่ฝายหนึ่งมีความสามารถเหนือกว่า และอีกฝาย
หนึ่งด้อยกว่า อาจเป็นเรื่องความสามารถ สุขภาพ การศึกษา หรือสถานะทางสังคม
่
ฝายที่เหนือกว่ารู้สึกว่าตนมีสิทธิที่จะเรียกร้องและท าการย ้าเตือนถึงความเสียสละ
ของตัวเองในท านองว่าฉันคงมีชีวิตที่ดีกว่านี้ถ้าไม่มีเธอ