Page 55 -
P. 55
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
49
ปัญหาของคู่สมรสตามมุมมองของ
Structural family therapy / Strategic family therapy
[1] ปัญหาการสื่อสาร (Communication problems)
แนวคิด Structural therapy และ Strategic therapy การสื่อสารของคู่สมรสแบ่งได้เป็น 2
ประเภท นั่นคือ
Symmetrical
หมายถึง คู่สมรสที่แสดงออกในบทบาทที่เหมือนกัน
่
เช่น เมื่อเกิดความขัดแย้ง คู่สมรสทั้งสองฝายต่างถอยห่างเพื่อหยุดการโต้เถียง
Asymmetrical
หมายถึงคู่สมรสที่แสดงออกในบทบาทที่ต่างกัน แต่ส่งเสริมกันและกัน
่
่
เช่น เมื่อเกิดความขัดแย้ง ฝายหนึ่งต าหนิติเตียน ส่วนอีกฝายยอมตาม
ลักษณะ Asymmetrical ของคู่สมรส ท าให้เกิดความขัดแย้งเพิ่มมากขึ้น มากกว่าที่
ั
จะท าให้ปญหาหมดไป
่
่
คู่สมรสมีแนวโน้มที่จะสร้างสมดุลระหว่างกันและกัน และต่างฝายต่างช่วยให้อีกฝายเกิด
่
่
ความสมดุลมากขึ้น เช่น คู่สมรสที่ฝายหนึ่งรักความสะอาดมาก อีกฝายหนึ่งไม่เป็นระเบียบ เมื่ออยู่
่
่
ด้วยกัน ฝายแรกจะผ่อนคลายมากขึ้น ส่วนอีกฝายจะเป็นระเบียบมากขึ้น
่
คู่สมรสที่มีความขัดแย้ง มักจะเกิด การแบ่งฝาย (polarize) และตอบสนองต่อพฤติกรรมของ
่
่
่
คู่สมรสอีกฝายอย่างสุดโต่ง เช่น ในเรื่องการเลี้ยงดูลูก คู่สมรสฝายหนึ่งตามใจลูกมากเกินไป อีกฝาย
หนึ่งกลับเข้มงวดกับลูกมาก
Sullaway & Christensen (1983, อ้างถึงใน Young & Long, 1997) ได้ระบุลักษณะคู่สมรสที่
มีลักษณะแตกต่างกัน (Asymmetrical) ไว้ดังต่อไปนี้
เก็บตัว / เข้าสังคม (Introvert / Extrovert)
เจ้าชู้ / ขี้หึง (Flirtations / Jealous)
กล้าแสดงออก / ไม่กล้าแสดงออก (Assertive / Nonassertive)
มีส่วนร่วมมาก / น้อย (More involved / less involved)
[Type text]