Page 54 -
P. 54
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
Theories of Marital and Family Therapy
48
แนวคิดที่ส าคัญซึ่งทั้งสองทฤษฏีมีร่วมกัน
จากที่ได้อธิบายในข้างต้น จะเห็นได้ว่า ทั้งสองทฤษฎีมีแนวคิดเกี่ยวกับครอบครัวและคู่สมรส
บางอย่างร่วมกัน ดังต่อไปนี้
1. ครอบครัวคือระบบ ซึ่งหมายความว่าองค์ประกอบของครอบครัวในแต่ละส่วนล้วนมีอิทธิพล
ั
ต่อกันและกัน การระบุว่าสมาชิกเพียงคนใดคนหนึ่งเป็นสาเหตุของปญหาจึงไม่สอดคล้องกับ
มุมมองดังกล่าว
ั
2. ปญหาท าให้ระบบครอบครัวสามารถด าเนินต่อไปได้ (Symptoms keep the family system
functional) ตัวอย่างเช่น พ่อแม่โต้แย้งกันในเรื่องวินัยของลูก ท าให้พ่อแม่ไม่ต้องจัดการ
ั
ปญหาเรื่องเพศสัมพันธ์ที่มีอยู่
ั
ั
3. ปญหาคงอยู่ด้วยระบบ เมื่อผู้บ าบัดพยายามจัดการปญหาอาจพบว่าครอบครัวร่วมกัน
ั
พยายามท าให้ปญหายังด าเนินต่อไป
4. คู่สมรสมีปฏิสัมพันธ์กันด้วยแบบแผนของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ ้าๆ ที่ไม่เหมาะสม
้
(destructive) ท าให้ครอบครัวไม่บรรลุเปาหมาย เมื่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนี้ถูกขัดจังหวะ
ก็จะเป็นการหยุดพฤติกรรมซ ้าๆนั้นไม่ให้เกิดขึ้น
5. ทุกครอบครัวต้องผ่านพัฒนาการไปตามล าดับขั้นของชีวิต และจะต้องปฏิบัติภารกิจเฉพาะ
ของแต่ละช่วงวัย หากยังปฏิบัติภารกิจไม่สมบูรณ์ พัฒนาการก็จะล่าช้า เช่น ครอบครัวที่อยู่
ในช่วงที่ลูกควรออกไปมีครอบครัวของตนเอง หากลูกไม่มีโอกาสท าตัวเป็นผู้ใหญ่ ครอบครัว
ั
ก็จะต้องเผชิญกับปญหาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกต่างวัย จนกว่าจะมีการก าหนดบทบาท
หน้าที่ที่ชัดเจนขึ้นใหม่
ั
6. สถานการณ์ของคู่สมรสในปจจุบันมีความส าคัญกว่าเรื่องราวในอดีต
ั
7. การบ าบัดทั้งสองทฤษฏีเป็นการบ าบัดระยะสั้น (Brief therapy) และมุ่งให้ความสนใจปญหา
ที่เกิดขึ้น (Problem-focused) ผู้บ าบัด ต้องมีลักษณะ (1) goal-oriented (2) assigns tasks
(3) active and directive
8. การเกิดการเปลี่ยนแปลงส าคัญกว่าการมีความเข้าใจ (insight)