Page 259 -
P. 259
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อย่างไรก็ตามแม้ว่าสมุนไพรจะมีประโยชน์ต่างๆ แต่การนำมาใช้ในสัตว์นั้นจำเป็นต้องใช้ให้
ถูกต้องและเหมาะสม เนื่องจากสารที่มีอยู่ในสมุนไพรนั้นมีความผันแปรจากหลายปัจจัยอาทิ
1. การเขตกรรม วิธีการปลูก การเตรียมดิน ตลอดจนการให้ปุ๋ยจะมีผลโดยตรงต่อ
ปริมาณและคุณภาพของสารออกฤทธิ์ในสมุนไพร
2. การเก็บเกี่ยว อายุของพืชและวิธีการเก็บเกี่ยวมีผลโดยตรงต่อปริมาณสารออกฤทธิ์
3. สายพันธุ์และชิ้นส่วนของพืชสมุนไพร มีผลต่อชนิดและปริมาณของสารออกฤทธิ์
4. สภาพแวดล้อมทั้งอุณหภูมิ และความชื้นมีผลต่อการสังเคราะห์สารออกฤทธิ์ของพืช
ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมปริมาณสารออกฤทธิ์ที่ใช้ในสัตว์ให้คงที่เสมอ เพื่อให้
ผลตอบสนองของสัตว์มีความสม่ำเสมอ อีกทั้งลดโอกาสที่จะเป็นพิษต่อตัวสัตว์อีกด้วย
เอกสารอ้างอิงท้ายบท
จุฑารัตน์ เศรษฐกุล.2539. คุณภาพที่ผู้บริโภคเนื้อสัตว์ยุคข่าวสารไร้พรมแดนคาดหวัง. สัตว
บาล 6(34): 27-35
Arbeitsgemeinschaft fuer Wirkstoff in der Tierernaehrung e.V. (AWT).1998.
Enzymes in Animal Nutrition. Bonn, Germany
Baurngartner, M. and R. Blum. 1997. More lean meat thanks to L-carnitine. Int.
Pig Topics. 12: 21-22
Bergman, E.N. 1990. Energy contribution of volatile fatty acids from the gastro-
intestinal tract in various species. Physiol. Rev. 70: 567-590
Caret, R.L., K.J. Denniston and J.J. Topping. 1993. Principle and applications of
organic biological chemistry. Brown. Publisher, Dubuges. 557pp.
Djouzi, Z and C. Andrieux. 1997. Compared effect of three oligosaccharides on
metabolism of intestinal microflora in rats inoculated with a human
faecal flora. J. Nutr. 28: 313-324.
Eeckhout, W. and M. De Paepe. 1994. Total phosphorus, phytate-phosphorous
and phytase activity in plant feedstuffs. Anim. Feed Sci.Technol. 47:
19-29.
สารเสริมในอาหารสัตว์ 256