Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



               Bradyrhizobium spp. สายพันธุ์ DASA32116) และพบว่ากรรมวิธีที่ 1, 2 และ 6 ค่าการตรึงไนโตรเจนน้อยและมีความ
               แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ 7

                       ข้อมูลผลผลิตของถั่วเหลืองตาแดงพันธุ์พื้นเมืองแม่ฮ่องสอน เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 105 วันหลังปลูกจำนวนฝักต่อต้น
               จำนวนเมล็ดทั้งหมด น้ำหนักเมล็ด และ น้ำหนัก 100 เมล็ดในทุกๆ กรรมวิธีการใส่ปุ๋ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ การ
               ใส่เชื้อ Bradyrhizobium spp. สายพันธุ์ DASA 32025 เพียงอย่างเดียวให้จำนวนฝัก/ต้น จำนวนเมล็ดทั้งหมด น.น.เมล็ด
               ทั้งหมดมากที่สุด และพบว่าการนำเชื้อไรโซเบียมที่แยกได้จากพื้นที่ลุ่มน้ำปายมาผสม 3 สายพันธุ์ พบว่าให้ผลผลิตที่ดีกว่า

               ปุ๋ยชีวภาพสำหรับถั่วเหลืองที่ผลิตโดยกรมวิชาการเกษตรซึ่งเป็น Bradyrhizobium japonicum
                                              การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

                       จากผลการคัดเลือกและผลการทดลองในระดับกระถางทดลองของสายพันธุ์ไรโซเบียมที่แยกได้จากพื้นที่ลุ่มน้ำ
               ปาย ได้ข้อมูลที่เป็นแนวทางในการนำไปทดสอบกับการปลูกถั่วเหลืองตาแดงพันธุ์พื้นเมืองแม่ฮ่องสอนในระดับแปลง
               ทดลองของพื้นที่ลุ่มน้ำปาย โดยข้อมูลที่ได้สามารถนำไปเผยแพร่และนำสายพันธุ์ไรโซเบียมที่ผ่านการคัดเลือกกับถั่วสาย
               พันธุ์ดังกล่าวมาผลิตเป็นปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้ำปายได้นำไปใช้ในการปลูกถั่วเพื่อลดต้นทุนการ
               ผลิตต่อไป
                                                       เอกสารอ้างอิง

               กรมวิชาการเกษตร. 2551. คู่มือวิธีวิเคราะห์ปุ๋ยชีวภาพ. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 45 หน้า.
               จิระศักดิ์ อรุณศรี. 2545. ชีววิทยาและการใช้ประโยชน์ของเชื้อ ไรโซเบียม. น. 23-62. ใน: เอกสารวิชาการ ปุ๋ยชีวภาพ.
                       กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร ปี พ.ศ. 2545.
               หนึ่ง เตียอำรุง. 2554. แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  251 หน้า.

               Atieno, M., L. Herrmann, R. Okalebo, and D. Lesueur.  2012.  Efficiency of different formulations of
                       Bradyrhizobium japonicumand effect of co-inoculation of Bacillus subtilis with two different
                       strains of Bradyrhizobium japonicum. World Journal of Microbiology and Biotechnology
                       28(7) : 2541-2550.
               Aung, T.T., P. Tittabutr, N. Boonkerd, D. Herridge, and  N.Teaumroong.  2 0 1 3 .   Co-inoculation effects of

                       Bradyrhizobium  japonicum  and  Azospirillum  sp.  on  competitive  nodulation  and
                       rhizosphereeubacterial  community  structures  of  soybean  under  rhizobia-established  soil
                       conditions. Afr. J. Biotech. 12(20) : 2850-2862.
               Boonkerd,  N.,  Weber,  D.F.,  Bezdicek,  D.F.,  1978.  Influ-ence  of  Rhizobium  japonicum  strains  and

                       inoculation methods on soybeans grown in rhizobia-populated soil. Agron. J. 70, 547–549.
               Boonkerd, N. and R.W. Weaver. 1 9 8 2 .   Survival of cowpea rhizobia in soil as effect by soil temperature
                       and moisture. Appl. Environ. Microbial. 43 : 585-589.
               Boonkerd, N. and S. Promsiri.  1993.  Effectiveness in N2 fixation of Sesbania speciosa and Sesbania

                       rostrata  rhizobia isolated from different locations. Kasetsart J.  27 : 292-302.
               Broughton, W.J. and M.J. Dilworth, 1971. Control of leghaemoglobin synthesis in snake beans.  Biochem.
                       J., 125: 1075-1080.



                                                           92
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105