Page 31 -
P. 31
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1-5
ประสานงานการพัฒนาพื้นที่สูงในภาพรวม (3) การกําหนดนโยบายพัฒนาการเกษตรและการใชที่ดินที่มี
วัตถุประสงคเฉพาะดานมีผลกระทบตอพื้นที่สูง (4) มีการกําหนดนโยบายแตไมมีแผนปฎิบัติการปฏิบัติลาชาไม
สามารถรองรับปญหาที่เกิดขึ้นได (5) ขาดระบบฐานขอมูลการบริหารจัดการพื้นที่สูง (6) ปญหาการขาดแคลนน้ํา
บนพื้นที่สูงจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น (7) ปญหาหมอกควันในชวงฤดูแลง จะไมสามารถแกไขไดหากไมเปลี่ยน
ระบบการปลูกพืชไร หรือระบบไรหมุนเวียนเนื่องจากตองมีการเตรียมพื้นที่เพื่อการปลูกพืช (8) ควบคุมการ
ทองเที่ยวเชิงนิเวศบนพื้นที่สูงตามความสามารถในการรองรับของพื้นที่ (Carrying Capacity) (9) โครงการจัด
ที่ดินทํากินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาลภายใตคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ (คทช.) เปนตัวอยางที่ควร
นําไปใชในโครงการจัดที่ดินทํากินบนพื้นที่สูงในอนาคต และ (10) การพัฒนาพื้นที่สูงโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มี
ชนเผาอาศัยและทํากินอยูนั้น หลักเกณฑและวิธีการของมูลนิธิโครงการหลวงจะเปนตนแบบในการขยายผลที่ดี
ที่สุดในประเทศไทย
บทที่ 10 สรุป ในบทนี้จะสรุปสาระสําคัญรวม 9 เรื่อง คือ (1) วัตถุประสงค (2) ภูมินิเวศของ
พื้นที่สูง (3) ปญหาของพื้นที่สูง (4) นโยบายแหงรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูง (5) ประสบการณนานาชาติในการ
บริหารจัดการพื้นที่สูง (6) การสํารวจความเห็นเจาหนาที่ของรัฐเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่สูงในพื้นที่ศึกษา
(7) องคกรที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการพื้นที่สูง (8) สรุปลําดับเวลาการบริหารจัดการพื้นที่สูงเชิงสังเคราะห
(9) การถอดบทเรียนการบริหารจัดการที่ดิน
นอกจากนี้ไดมีการจัดทําฐานขอมูลการบริหารจัดการพื้นที่สูง เปนภาคผนวก รวม 5 เรื่อง คือ
ภาคผนวกที่ 1 การปกครองของราชอาณาจักรไทย
ภาคผนวกที่ 2 รายชื่อหมูบานที่จะไดรับผลกระทบจากการเกิดดินถลมและน้ําปา
ไหลหลาก
ภาคผนวกที่ 3 ฐานขอมูลการศึกษา แนวคิด และขอเสนอในการบริหารจัดการพื้นที่สูง
ซึ่งไดแบงออกเปน 10 หมวด
ภาคผนวกที่ 4 รายงานการประชุมวิชาการ ผลงานการวิจัยของโครงการหลวง
ประจําป ตั้งแต พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2553
ภาคผนวกที่ 5 รายชื่อนักวิจัยชาวตางประเทศที่เขามาดําเนินการวิจัยเกี่ยวกับ
ชาวเขาในประเทศไทย ภายใตความรวมมือของสถาบันวิจัยชาวเขา ระหวาง พ.ศ. 2502-2538
รายงานฉบับสมบูรณไดตอบวัตถุประสงคทั้ง 6 ขอ ดังนี้
วัตถุประสงค ขอที่ 1 เพื่อรวบรวมนโยบายของรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูงจากอดีตถึงปจจุบัน
ผลการดําเนินงานอยูในรายงานบทที่ 4 และบทที่ 8
วัตถุประสงค ขอที่ 2 เพื่อรวบรวมผลการศึกษา แนวคิด และขอเสนอของนักวิชาการ และสถาบัน
ตางๆ ในการบริหารจัดการพื้นที่สูงจากอดีตถึงปจจุบัน
ผลการดําเนินงานอยูในภาคผนวกที่ 3, 4 และ 5
วัตถุประสงค ขอที่ 3 เพื่อรวบรวมโครงการพัฒนาพื้นที่สูงทั้งที่ดําเนินการโดยภาครัฐ มูลนิธิ และ
ภาคเอกชนจากอดีตถึงปจจุบัน
ผลการดําเนินงานอยูในรายงานบทที่ 7 และบทที่ 8