Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       1-1


                                                         บทที่ 1


                                                          บทนํา


               1.1 ที่มาและความสําคัญ/หลักการและเหตุผล
                       ในชวงสามทศวรรษที่ผานมานี้ ปญหาการนําพื้นที่สูงซึ่งรวมถึงพื้นที่ภูเขาที่สวนใหญเปนพื้นที่ปาไม
               ตนน้ําลําธารมาใชเพื่อการเกษตรและกิจกรรมอื่น ไดทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น เมื่อพื้นที่ปาไมที่ปกคลุมพื้นที่ภูเขา

               และพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงถูกทําลายลง นอกจากเปนการสูญเสียความสวยงามของทิวทัศนแลว ยังเกิดการ
               ชะลางพังทลายของดินและดินถลมที่เกิดจากฝนตกหนัก กรมพัฒนาที่ดิน (2543: 37) ไดรายงานวามีการ
               ชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวา 35% มากถึง 95.22 ลานไร สงผลใหตะกอนดินลงมา
               ทับถมพื้นที่ดานลางและลําน้ําธรรมชาติตางๆ ใหตื้นเขิน ในกรณีดินถลมนั้นไดเกิดขึ้นหลายครั้งตั้งแต

               พ.ศ. 2531 ที่อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2543 ที่อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พ.ศ. 2544
               ที่อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร พ.ศ. 2549 ที่อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ และเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม
               พ.ศ. 2561 ที่อําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน การเกิดดินถลมแตละครั้งไดสรางความเสียหายตอทรัพยสินและ
               สูญเสียชีวิตตลอดมาอยางตอเนื่อง (กรมทรัพยากรธรณี, 2555: 1-2 ; 2561: 1)

                       นอกจากนี้การที่ปาไมซึ่งเปนตนน้ําลําธารไดถูกทําลายลงไดสงผลใหเกิดน้ําทวมและความแหงแลง
               เกิดขึ้นในพื้นที่ตอนลาง ดังที่อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการแปรสภาพเปนทะเลทราย ไดระบุ
               ไววา “การสูญเสียพื้นที่ปาไมเปนสาเหตุสําคัญของการแปรสภาพเปนทะเลทรายที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตางๆ

               ของโลก” (UNCCD, 2000: 8)
                       ถึงแมวาภาครัฐไดมีนโยบายที่กําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตางๆ
               มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบของคณะกรรมการที่เกี่ยวของ รวมทั้งผลการศึกษาและขอเสนอจากนักวิชาการสถาบันตางๆ
               ตลอดจนผลการดําเนินโครงการตางๆ ที่ประสบความสําเร็จทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ในบางพื้นที่มาอยาง
               ตอเนื่องก็ตาม แตมิใชเปนการแกปญหาในภาพรวมของชาติอยูในลักษณะดําเนินการของแตละหนวยงาน

               ปญหาการบริหารจัดการพื้นที่ภูเขาและพื้นที่สูงจึงยังคงเกิดขึ้นและคาดวาจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นดวย
               แรงผลักดันจากประชากรที่เพิ่มขึ้น ซึ่งตางก็ตองการที่ดินเพื่อการเกษตรและกิจกรรมตางๆ รวมทั้งการ
               เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หากสถานการณเปนไปเชนนี้จะสงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

               โดยรวม ภาครัฐจึงจําเปนจะตองกําหนดนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่ภูเขาและพื้นที่สูงในภาพรวมของชาติ
               ขึ้นใหมโดยเร็ว
                       อยางไรก็ตามกอนที่จะมีการกําหนดนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่ภูเขาและพื้นที่สูงของชาติขึ้นนั้น
               ควรจะตองรวบรวมนโยบายของรัฐ แนวคิดจากขอเสนอในการศึกษาของนักวิชาการและสถาบันตางๆ รวมทั้ง

               วิธีปฏิบัติของโครงการตางๆ ที่มีจํานวนมากในอดีตถึงปจจุบันใหเปนระบบเสียกอน เพื่อนํามาถอดเปนบทเรียน
               และใชประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบายในการบริหารจัดการพื้นที่ภูเขาและพื้นที่สูงในอนาคต
                       การศึกษาครั้งนี้จะเปนการปริทรรศนนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่สูงทั้งประเทศทุกดานทั้งเศรษฐกิจ
               สังคม การเมือง ความมั่นคง และสิ่งแวดลอม รวมทั้งผลการศึกษาและขอเสนอในการบริหารจัดการพื้นที่สูงของ

               นักวิชาการ สถาบัน มูลนิธิ และองคกรภาคเอกชน ตลอดจนโครงการพัฒนาในลักษณะตางๆ ที่ดําเนินการมาใน
               อดีตจนถึงปจจุบัน
                       การศึกษาในลักษณะนี้ไมมีการดําเนินการมากอน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32