Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       1-3


                              (2) วิธีการศึกษา
                                     (1) ทบทวนวรรณกรรมนโยบายของรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูงจากอดีตถึง

               ปจจุบัน รวม 13 ระยะ ดังที่กลาวในขอบเขตการศึกษา
                                     (2) ทบทวนวรรณกรรมถึงผลการศึกษา แนวคิด และขอเสนอของนักวิชาการและ
               สถาบันตางๆ ในการบริหารจัดการพื้นที่สูงจากอดีตถึงปจจุบัน
                                     (3) ทบทวนวรรณกรรมเรื่องโครงการพัฒนาพื้นที่สูงของหนวยงานภาครัฐ มูลนิธิ

               และภาคเอกชนจากอดีตถึงปจจุบัน
                                     (4) ทบทวนวรรณกรรมประสบการณนานาชาติในการจัดการพื้นที่สูง รวมทั้ง
               ขอตกลงในอนุสัญญา และปฎิญญา ที่เกี่ยวของกับชนเผาในที่สูง
                                     (5) สํารวจขอมูลปฐมภูมิสถานภาพของพื้นที่สูงในปจจุบันทั้งดานกายภาพ เศรษฐกิจ

               และสังคม ในพื้นที่ 12 จังหวัด คือ เชียงใหม นาน เชียงราย ชัยภูมิ ขอนแกน อุทัยธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี
               สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง และกระบี่
                                     (6) วิเคราะหผลสําเร็จ ปญหาและอุปสรรคของผลการดําเนินการในการพัฒนาพื้นที่
               สูงในอดีตถึงปจจุบันโดยใชประสบการณนานาชาติมาประกอบในการวิเคราะห

                                     (7) ถอดบทเรียนการบริหารจัดการพื้นที่สูงทั้งที่ประสบความสําเร็จและไมประสบ
               ความสําเร็จตามเปาหมาย เพื่อเปนแนวทางที่จะนําไปกําหนดนโยบายในอนาคต

                              (3) ขอมูลที่ใชในการศึกษา

                              ที่มาของขอมูลนโยบายของรัฐ จะมาจาก จดหมายเหตุ ราชกิจจานุเบกษา กฎและระเบียบที่
               ประกาศใช คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-
               ฉบับที่ 12 มติคณะรัฐมนตรี แผนบริหารราชการแผนดิน มติของคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการบริหาร
               จัดการพื้นที่สูง รายงานประจําปของสวนราชการตางๆ รายงานการศึกษาของนักวิชาการและสถาบันตางๆ รวมทั้ง

               บทความตางๆ ที่มีการจัดพิมพเผยแพร

                              (4) ระยะเวลาของโครงการ
                                     12 เดือน


               1.4 โครงสรางรายงานการวิจัย
                       รายงานการวิจัยมี  10 บท และภาคผนวกจํานวน 5 เรื่อง โดยมีสาระสําคัญดังนี้

                              บทที่ 1 บทนํา ไดกลาวถึงที่มาและความสําคัญรวมทั้งหลักการและเหตุผลในการวิจัย
               วัตถุประสงค ซึ่งมี 6 ประการ ระเบียบวิจัย และโครงสรางรายงานการวิจัย
                              บทที่ 2  ภูมินิเวศของพื้นที่สูง ไดทบทวน 4  เรื่อง คือ (1)  ความหมายและขอบเขตของพื้นที่สูง
               ซึ่งมีความหมายของภูเขา พื้นที่สูงและพื้นที่ลาดชันเชิงซอน (2) ภูเขาในประเทศไทยซึ่งมีทิวเขาในภาคตางๆ

               รวม 15  ทิวเขา (3)  แหลงกําเนิดของแมน้ําจากภูเขาที่สําคัญ ซึ่งมีแมน้ําที่สําคัญรวม 16  สาย (4)  ปาไมใน
               ประเทศไทย ไดทบทวนปาไมประเภทไมผลัดใบและผลัดใบชนิดตางๆ ซึ่งเปนที่มาของระบบนิเวศปาไมใน
               ประเทศไทย และ(5) ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ที่กลาวถึงความสําคัญของทรัพยากรที่สําคัญ
               ตอความหลากหลายทางชีวภาพที่สําคัญในประเทศไทย
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34