Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       1-4


                               บทที่ 3 ปญหาของพื้นที่สูง ที่มีสาระสําคัญรวม 7 ประการ คือ (1) ปญหาการตัดไมทําลายปา
               ที่เกิดขึ้นมาอยางตอเนื่อง ถึงแมวาภาครัฐจะมีมาตรการตางๆ แกไขและปองกันแตถึงปจจุบันมีปาไมเหลือเพียง

               102 ลานไรเทานั้น ซึ่งต่ํากวาเปาหมายรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศหรือ 128 ลานไร (2) ปญหาการปลูกฝนที่
               พบวามีการปลูกลดลงจากการดําเนินการมาตรการตางๆ ของรัฐ (3) ปญหาการชะลางพังทลายของดิน
               ซึ่งเกิดขึ้นจากปจจัยตางๆ อัตราและเนื้อที่การสูญเสียดิน (4) ปญหาดินถลม โดยกลาวถึงพื้นที่ดินถลมที่เกิดขึ้น
               ในอดีตและพื้นที่เสี่ยงตอดินถลมในจังหวัดตางๆ (5) ปญหาชาวเขาที่กลาวถึงปญหาหนวยงานตางๆ ศึกษาไว

               สรุปได 8 ประการ (6) ปญหาการประกอบอาชีพของประชากรบนพื้นที่สูงทั้งการขาดกรรมสิทธิ์ในที่ดินทํากิน
               การขาดโครงสรางพื้นฐาน และ(7) ปญหาสิ่งแวดลอมที่ครอบคลุมทั้งปญหามลพิษที่เกิดจากการทําเหมืองแร
               และปญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ
                               บทที่ 4 นโยบายแหงรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูง ซึ่งครอบคลุมสาระสําคัญ

               รวม 5 เรื่อง คือ (1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่สูง โดยปรากฎใน
               แผนพัฒนาการเศรษฐกิจฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8
               (พ.ศ. 2540-2544) เนื่องจากหลังจากนั้นไมมีนโยบายเกี่ยวกับพัฒนาพื้นที่สูงปรากฎ (2) มติคณะรัฐมนตรี
               ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่สูง ตั้งแต พ.ศ. 2502  ถึง พ.ศ. 2562  (3) นโยบายในการควบคุมการใช

               พื้นที่สูง ซึ่งมีทั้ง กฎ ระเบียบ มติ และประกาศตางๆ รวม 12  เรื่อง (4)  นโยบายในการอนุญาตใหราษฎรอยู
               อาศัยและทํากินในพื้นที่ปาไม โดยเฉพาะการประกาศใชพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2562
               และพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2562 รวมทั้งมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561

               (5) นโยบายชาวเขา ที่เริ่มมาตั้งแต พ.ศ.  2499 และมีการปรับเปลี่ยนมาอยางตอเนื่อง รวมทั้งการตั้งถิ่นฐาน
               และการใหสัญชาติไทยแกประชากรชาวเขา
                              บทที่ 5 ประสบการณนานาชาติในการบริหารจัดการพื้นที่สูง  การทบทวนวรรณกรรม
               ในบทนี้จะมี 3  เรื่อง คือ (1)  ความสําคัญของพื้นที่ภูเขา ซึ่งองคการสหประชาชาติ ไดระบุไววามี 7 ประการ
               ที่ทุกประเทศควรใหความสนใจ (2) การใชที่ดินบนที่สูงของนานาชาติที่ไดทบทวนถึงนาขั้นบันได และ

               (3) ไดทบทวนกฎหมายและองคกรระหวางประเทศที่เกี่ยวกับชนเผาและชนเผาพื้นเมืองซึ่งอาศัยอยูบนพื้นที่สูง
                              บทที่ 6 การสํารวจความเห็นเจาหนาที่ของรัฐเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่สูงในพื้นที่
               ศึกษาซึ่งทําการสํารวจในพื้นที่ 12 จังหวัด เพื่อสัมภาษณเจาหนาที่ของรัฐในพื้นที่ศึกษาถึงปญหาการบริหาร

               จัดการพื้นที่สูงรวม 7 ประการ คือ (1) การลดลงของพื้นที่ปาไม (2) การชะลางพังทลายของดิน (3) ดินถลม
               (4) ปญหาชาวเขา (5) ปญหาการประกอบอาชีพของประชากรบนพื้นที่สูง (6) ความขัดแยงเรื่องการถือครอง
               ที่ดิน และ (7) ปญหาสิ่งแวดลอม
                              บทที่ 7 องคกรที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการพื้นที่สูง บทนี้ไดทบทวนองคกร ทั้งมูลนิธิ

               สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนที่ดําเนินการพัฒนาพื้นที่สูงจากอดีต
                              บทที่ 8 สรุปลําดับเวลาการบริหารจัดการพื้นที่สูงเชิงสังเคราะห ในบทนี้เปนการ
               สังเคราะหนโยบายในแตละชวงเวลากับผลการปฏิบัติ รวมทั้งการตอบสนองของสวนราชการผูปฏิบัติ
               การสนับสนุนของรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของการประกอบอาชีพ

               บนพื้นที่สูง
                              บทที่ 9  การถอดบทเรียนการบริหารจัดการพื้นที่สูง บทนี้จะเปนการสังเคราะหนโยบาย
               และผลจากนโยบาย ประสบการณนานาชาติ ผลการสํารวจความเห็นเจาหนาที่ของรัฐเรื่องการบริหารจัดการ
               พื้นที่สูงในพื้นที่ศึกษา 12  จังหวัด แลวถอดเปนบทเรียนการบริหารจัดการพื้นที่สูง เพื่อใหสามารถนําไปใชใน

               อนาคตไดรวม 10  ประการ คือ (1) ขาดแผนแมบทการพัฒนาพื้นที่สูงทั้งประเทศ (2) ขาดคณะกรรมการ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35