Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       4.3.4 ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตตำมขนำดพื้นที่


                       ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตของเกษตรกรอำจขึ้นอยู่กับขนำดพื้นที่เพำะปลูก ตำรำงที่ 4.3.9 ถึง 4.11


               แสดงสัดส่วนของช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตตำมขนำดพื้นที่กำรเพำะปลูก โดยแบ่งพื้นที่ขนำดใหญ่คือพื้นที่
               เพำะปลูกมำกกว่ำค่ำเฉลี่ย และพื้นที่เพำะปลูกขนำดเล็กคือพื้นที่เพำะปลูกน้อยกว่ำค่ำเฉลี่ย โดยตำรำงที่ 4.3.9


               แสดงช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน ตำรำงที่ 4.3.10 แสดงช่องทำงกำรจ ำหน่ำย

               ผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด และตำรำงที่ 4.3.11 แสดงช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูก

               ล ำไย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 - 2562



                       ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยทุเรียน



                       ตำรำงที่ 4.3.9 แสดงสัดส่วนช่องทำงกำรจ ำหน่ำยของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน ปี พ.ศ. 2559-2562

               แบ่งตำมพื้นที่กำรเพำะปลูก โดยรวมจะเห็นได้ว่ำ ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนมี

               ควำมแตกต่ำงกันตำมขนำดของพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2562 กลุ่มตัวอย่ำงเกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดใหญ่

               มีกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งจีนเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 30 ในขณะที่เกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดเล็กมีกำร

               ขำยผ่ำนล้งจีนเพียงร้อยละ 10 ถึงแม้ว่ำกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งจีนของเกษตรกรพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดเล็ก มี

               กำรเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ที่มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 5 ก็ตำม



                       นอกจำกนั้น เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนพื้นที่ขนำดเล็กมีกำรพึ่งพำพ่อค้ำคนกลำงรำยย่อยมำกกว่ำ โดยมี

               สัดส่วนกำรขำยผ่ำนช่องทำงนี้ร้อยละ 55  เทียบกับร้อยละ 33 ส ำหรับเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนพื้นที่ขนำดใหญ่

               ส่วนกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งไทยนั้น พบว่ำเกษตรกรที่มีพื้นที่ขนำดใหญ่มีสัดส่วนกำรขำยผ่ำนล้งไทยที่ลดลงจำก
               ปี พ.ศ. 2559 คือร้อยละ 37 เป็นร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2562 แต่เกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดเล็กมี

               สัดส่วนกำรขำยผ่ำนล้งไทยที่ค่อนข้ำงคงที่คือประมำณร้อยละ 25 ในแต่ละปี


                       จะเห็นได้ว่ำเป็นไปตำมที่คำดไว้ เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนขนำดใหญ่ใช้ล้งจีนเป็นช่องทำงกำรจัดจ ำหน่ำย

               ผลผลิตมำกกว่ำมีกำรว่ำเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนขนำดเล็ก และเป็นที่น่ำสังเกตุว่ำเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนขนำด

               เล็กได้มีกำรขำยผ่ำนล้งจีนเพิ่มขึ้นถึงเท่ำตัวจำกปีก่อนหน้ำเนื่องจำกกระแสกำรบริโภคทุเรียนของชำวจีน






               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              90                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107