Page 98 -
P. 98

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       หำกพิจำรณำเป็นรำยจังหวัด  พบว่ำในปี พ.ศ. 2562 เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนจังหวัดจันทบุรีมีสัดส่วน

               กำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งจีนมำกที่สุดคือร้อยละ 25  และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นจำกร้อยละ 21  ในปี พ.ศ. 2559

               ในขณะที่กำรขำยผ่ำนล้งไทย มีแนวโน้มที่ลดลง รองลงมำคือเกษตรกรของจังหวัดตรำดที่มีสัดส่วนกำรขำย

               ทุเรียนผ่ำนล้งจีน ร้อยละ 14  เพิ่มขึ้นเกือบเท่ำตัวจำกสัดส่วนเพียงร้อยละ 7  ในปี พ.ศ. 2559 ส่วนเกษตรกร

               จังหวัดระยองมีกำรขำยผ่ำนล้งจีนเพียงร้อยละ 8 โดยมีสัดส่วนกำรขำยผ่ำนช่องทำงนี้ค่อนข้ำงคงที่มำโดยตลอด

               ในแต่ละปี ข้อสังเกตอีกประกำรหนึ่งคือ กลุ่มตัวอย่ำงเกษตรกรในจังหวัดระยองมีสัดส่วนผลผลิตที่ขำยปลีก

               ด้วยตนเองที่ค่อนข้ำงสูงเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆ คือมีสัดส่วนถึงประมำณร้อยละ 30 ในขณะที่เกษตรกรใน

               จังหวัดตรำดและจันทบุรี มีกำรขำยผ่ำนช่องทำงนี้เพียงร้อยละ 7  และร้อยละ 1.5  เท่ำนั้นตำมล ำดับ  กำรที่


               เกษตรกรในจังหวัดจันทบุรีมีช่องทำงกำรขำยผลผลิตทุเรียนผ่ำนล้งจีน เป็นสัดส่วนที่มำกกว่ำจังหวัดอื่นนั้น

               อำจเป็นเพรำะผู้ประกอบกำรจีนมีกำรตั้งล้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรีมำกกว่ำจังหวัดอื่น และยังมีพื้นที่รวมทั้ง

               ผลผลิตเฉลี่ยที่สูงกว่ำจังหัดอื่นดังที่ได้รำยงำนไว้ในส่วนที่ผ่ำนมำ


                       ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยมังคุด


                       กำรจ ำหน่ำยมังคุดของเกษตรกรในช่วงปี พ.ศ. 2559-2562 แบ่งตำมจังหวัดแสดงไว้ในตำรำงที่ 4.3.7

               โดยรวมจำกกลุ่มตัวอย่ำงทั้งหมด พบว่ำช่องทำงกำรจ ำหน่ำยมังคุดที่ส ำคัญที่สุดในปี พ.ศ. 2562 เป็นกำรขำย

               ผ่ำนพ่อค้ำคนกลำงรำยย่อยคิดเป็นร้อยละ 36  ของผลผลิต ซึ่งสอดคล้องกับช่องทำงกำรขำยทุเรียน แต่

               รองลงมำคือกำรขำยผ่ำนล้งจีนร้อยละ 28 และกำรขำยผ่ำนล้งไทยร้อยละ 23 ที่เหลืออีกประมำณร้อยละ 13

               เป็นกำรค้ำปลีกด้วยตนเองและกำรขำยผ่ำนสหกรณ์ฯ จะเห็นได้ว่ำกำรขำยมังคุดผ่ำนล้งจีนมีสัดส่วนที่ค่อนข้ำง

               คงที่คือประมำณ ร้อยละ 25 – 27 มำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559  เช่นเดียวกับสัดส่วนกำรขำยผ่ำนล้งไทยที่ค่อนข้ำง

               คงที่ประมำณร้อยละ 22 – 23 ในขณะที่กำรขำยผ่ำนพ่อค้ำคนกลำงรำยย่อยมีแนวโน้มที่ลดลงเรื่อยๆ จำก

               ร้อยละ 42 ในปี พ.ศ. 2559 เป็นร้อยละ 36 ในปี พ.ศ. 2562



                       เมื่อพิจำรณำช่องทำงกำรขำยผลผลิตของเกษตรกรเป็นรำยจังหวัด พบว่ำเกษตรกรในจังหวัดระยองใช้

               ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผ่ำนล้งจีนมำกที่สุดคือร้อยละ 64 แต่มีแนวโน้มที่ลดลงเล็กน้อยจำกปี พ.ศ. 2559 ที่มีกำร


               ขำยผ่ำนช่องทำงนี้ร้อยละ 68  ส ำหรับเกษตรกรในจังหวัดจันทบุรี มีกำรขำยผ่ำนล้งจีนร้อยละ 28  ซึ่งเพิ่มขึ้น
               จำกปี พ.ศ. 2559  ที่มีกำรขำยผ่ำนล้งจีนเพียงร้อยละ 18  ในขณะที่เกษตรกรจังหวัดตรำด มีกำรขำยผ่ำน








               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              86                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103