Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ตำรำงที่ 4.3.7 ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด ปี พ.ศ. 2562-2559

               แบ่งตำมจังหวัด (ต่อ)

                                                  ผู้ปลูกมังคุด   จ.ระยอง   จ.จันทบุรี    จ.ตรำด
                             ข้อมูล                (N=149)      (n=42)       (n=51)       (n=56)

                                                   ค่ำเฉลี่ย    ค่ำเฉลี่ย    ค่ำเฉลี่ย    ค่ำเฉลี่ย

               ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยมังคุด ปี 2559:

               ขำยผ่ำนล้งไทย (%)                    21.51        9.68        26.58        24.96
               ขำยผ่ำนล้งจีน (%)                    25.27        68.28       17.95         3.88

               ขำยผ่ำนพ่อค้ำคนกลำงรำยย่อย (%)       42.32        9.68        45.16        60.71
               ขำยผ่ำนสหกรณ์ฯ (%)                   2.31         5.65         2.56         0.00

               ขำยปลีกด้วยตนเอง (%)                 8.59         6.72         7.74        10.45


                       ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยล ำไย



                       ตำรำงที่ 4.3.8  แสดงช่องทำงกำรจ ำหน่ำยของเกษตรกรผู้ปลูกล ำไย ปี พ.ศ. 2559-2562 แบ่งตำม

               จังหวัด ซึ่งกำรปลูกล ำไยนั้นกลุ่มตัวอย่ำงมำจำกจังหวัดจันทบุรีเกือบทั้งหมด  ในปี พ.ศ. 2562 เกษตรกรมี


               สัดส่วนกำรจ ำหน่ำยล ำไยผ่ำนล้งจีนถึงร้อยละ 70  ของผลผลิต รองลงมำคือกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งไทยที่มี
               สัดส่วนร้อยละ 14 ของผลผลิต ที่เหลือเป็นกำรขำยผ่ำนช่องทำงอื่นๆ ดังนั้นช่องทำงกำรขำยล ำไยของ


               เกษตรกรมีลักษณะพึ่งพำล้งจีนเป็นหลัก โดยรวมกำรขำยล ำไยผ่ำนสองช่องทำงนี้มีสัดส่วนเกินร้อยละ 80

               ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559  เป็นต้นมำ อย่ำงไรก็ตำม ตำรำงที่ 4.3.8 แสดงว่ำสัดส่วนกำรขำยล ำไยผ่ำนล้งจีนในปี

               พ.ศ. 2562  มีแนวโน้มที่ลดลงจำกช่วงปีก่อนหน้ำ ที่มีสัดส่วนสูงถึงประมำณร้อยละ 90 ในขณะที่กำรขำย

               ผ่ำนล้งไทยมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นค่อนข้ำงมำกในปี พ.ศ. 2562 จำกปีก่อนหน้ำที่มีสัดส่วนเพียงประมำณร้อยละ

               4 – 6 เท่ำนั้น



                       กำรที่ในปัจจุบันสัดส่วนกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งจีนมีบทบำทลดลง อำจเนื่องจำกกำรขำยล ำไยให้กับล้ง

               จีนส่วนมำกเป็นลักษณะกำรขำยใบ (Forward Contract) และสัญญำที่ใช้เป็นลักษณะที่ไม่เป็นทำงกำร ท ำให้

               ที่ผ่ำนมำเกิดกรณีพิพำทระหว่ำงเกษตรกรรำยย่อยกับล้งจีน เกษตรกรผู้ปลูกล ำไยจึงหันมำใช้ช่องทำงกำร

               จ ำหน่ำยอื่นมำกขึ้น






               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              88                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105