Page 104 -
P. 104
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยมังคุด
ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุดในปี พ.ศ. 2559-2562 แบ่งตำมพื้นที่กำรเพำะปลูก
แสดงไว้ใน ตำรำงที่ 4.3.10 โดยรวมพบว่ำช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด ไม่มีควำม
แตกต่ำงกันมำกนักตำมขนำดของพื้นที่ ซึ่งแตกต่ำงจำกลักษณะกำรขำยทุเรียนของเกษตรกร ในปี พ.ศ. 2562
กลุ่มตัวอย่ำงเกษตรกรที่มีพื้นที่เพำะปลูกขนำดใหญ่ มีกำรขำยมังคุดผ่ำนล้งจีนเป็นสัดส่วนร้อยละ 30 ซึ่ง
ใกล้เคียงกับเกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดเล็ก ที่มีกำรขำยผ่ำนล้งจีนร้อยละ 27 กำรขำยมังคุดผ่ำนล้ง
จีนนั้นได้เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจำกปี พ.ศ. 2559 ซึ่งมีสัดส่วนกำรขำยผ่ำนล้งจีนร้อยละ 27 และร้อยละ 24 ของ
เกษตรกรที่มีพื้นที่เพำะปลูกขนำดใหญ่และขนำดเล็ก ตำมล ำดับ
นอกจำกนั้น ยังพบว่ำช่องทำงกำรขำยผ่ำนล้งไทยของเกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดใหญ่ มี
สัดส่วนที่สูงกว่ำเกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดเล็ก คือร้อยละ 30 เทียบกับร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2562
โดยสัดส่วนกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งไทยของเกษตรกรทั้งสองกลุ่ม ไม่ค่อยมีกำรเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559
ซึ่งเป็นไปตำมที่คำดไว้เนื่องจำกไม่ได้มีกระแสบริโภคมังคุดของชำวจีนเช่นทุเรียน
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย 92 สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร