Page 15 -
P. 15
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การเตรียมสารช่วยติด/สารกระตุ้น/ สาร
การเตรียมอุปกรณ์ส าหรับการย้อม
ช่วยย้อม (Mordant)
1. หม้อ ส าหรับต้มย้อม ควรใช้หม้อ สแตน
เลส หรือหม้อที่เคลือบผิว ไม่ควรใช้หม้ออลูมิเนียม สารช่วยติด (Mordant) หรือสารกระตุ้น
2. กะละมัง ส าหรับล้างผ้า ล้างเส้นใย แช่ผ้า หรือสารช่วยย้อม เป็นสารที่ช่วยให้สีติดกับเส้นใยขณะ
ทั้งก่อนและหลังย้อม รวมถึงแช่วัสดุก่อนการย้อมด้วย ท าการย้อมได้ดีขึ้น และช่วยปรับเฉดสีให้มีมากขึ้น ใน
(สามารถใช้เป็นกะละมังพลาสติกได้) อดีตนิยมใช้มูลหรือปัสสาวะสัตว์เป็นสารช่วยติด โดย
3. เตาแก๊ส การเทลงไปผสมในถังย้อม ปัจจุบันมีการใช้ทั้งสารที่ได้
4. ห่วงคล้องเส้นใย ส าหรับคล้องแขวนเส้น จากธรรมชาติและสารเคมี เส้นใยธรรมชาติจากพืชแต่
ใยระหว่างการย้อม น าเส้นสแตนเลสกลม เล็ก ยาว ละชนิดที่น ามาย้อม จะมีความคงทนต่อแสงแดดและ
ประมาณ 50 เซนติเมตร โค้งเป็นตัวยู ปลายทั้งสอง การขัดถูไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบภายในของ
ข้างหักงอเป็นตะขอสามารถคล้องเกี่ยวกันได้ สอดเข้า พืชและชนิดของเส้นใยที่น ามาย้อม
ไปในท่อสายยาง ไว้
ดังนั้นจึงมีการใช้สารช่วยติดต่าง ๆ เป็นตัว
5. ไม้ ส าหรับช่วยคน ช่วยจัดระเบียบเส้นใย
ช่วยท าให้เส้นใยดูดซับสีให้สีเกาะเส้นใยได้แน่นขึ้น มี
ระหว่างยกสายคล้องขึ้นลง
ความทนทานต่อแสงและการขัดถูเพิ่มขึ้น สารเหล่านี้
6. ราวไม้ ส าหรับไว้กระตุกเส้นใย
นอกจากจะเป็นตัวจับยึดสีและเพิ่มการติดสีในเส้นใย
7. อื่น ๆ เขียง มีด กรรไกร ตะแกรง ราวตาก
แล้ว ยังช่วยเปลี่ยนเฉดสีให้เข้มจาง หรือสดใสสว่างขึ้น
ผ้า ไม้หนีบผ้า
ด้วย เช่น ย้อมสีเส้นใยด้วยเปลือกต้นมะยม สีที่ได้คือ
ภาพที่ 9 หลอดฝ้ายก่อนน าไปปั่นเป็นเส้นใย
สีน้ าตาล น าเส้นใยแบ่งส่วนจุ่มลงในสารช่วยติด
5 ชนิด 1) สารส้ม ได้เป็นสีน้ าตาลอ่อนอ่อนลงจากเฉด
สีเดิม สว่างขึ้น 2) ปูนแดง ได้เป็นสีน้ าตาลแดงอิฐ ออก
เข้มที่สุดในเฉดสีที่ได้ 3) สนิมเหล็ก ได้เป็นสีน้ าตาล
แดงเช่นกันแต่เฉดสีอ่อนกว่าปูนแดง 4) ด่างขี้เถ้า ได้
เป็นสีน้ าตาลส้ม 5) โคลน ได้เป็นสีน้ าตาลเทา
6