Page 14 -
P. 14
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. เส้นใยฝ้าย
เส้นใยฝ้ายเป็นเส้นใยเซลลูโลส
(Cellulose Fibers) เส้นใยธรรมชาติที่ได้จากพืช เป็น
เส้นใยสั้น พันธุ์ฝ้ายพื้นเมืองของไทยมีด้วยกัน 2 ชนิด
คือ พันธุ์ปุยสีขาวและพันธุ์ปุยสีน้ าตาล (ฝ้ายสีตุ่น ที่
เรียกว่าฝ้ายกะตุย) ซึ่งพันธุ์ปุยสีขาวจะเป็นพันธุ์ที่นิยม
น ามาท าเป็นเส้นใยเพื่อการทอมากกว่าพันธุ์ปุยสี
น้ าตาล ก่อนที่จะได้เป็นเส้นใยฝ้ายนั้นต้องผ่านกรรมวิธี
ภาพที่ 7 ฝ้ายขาวที่ท าการคัดแยกแล้ว
ใยฝ้ายไปแช่ ขย าในน้ าข้าว (ปัจจุบันใช้แป้ง
ข้าวเจ้าละลายน้ าแทน) บิดให้แห้ง ก่อนน าเส้นใยฝ้าย
ไปแขวนในราวไม้แล้วกระตุกให้เส้นใยฝ้ายเรียงตัว
สามารถน าขั้นตอนของการความสะอาดเส้นใยไหมมา
ใช้ได้เช่นกัน หรือใช้วิธีการท าความสะอาด ดังนี้
2.1 น าเส้นใยฝ้ายแช่ในน้ าที่ผสมกับ
หลายขั้นตอน ตั้งแต่การเก็บดอกฝ้าย (เก็บปุยฝ้าย)
ผงซักฟอก 30 นาที
แล้วน ามาตากไว้ให้แห้งสนิทเพื่อป้องกันการเกิดเชื้อรา
การแยกปุยฝ้ายออกจากเมล็ดเรียกว่าการอีดฝ้าย หรือ 2.2 ซักเส้นใยฝ้ายพร้อมท าการทุบด้วยไม้
การอิ้วฝ้ายก่อนที่จะน ามาท าการดีดฝ้ายให้เป็นใยฟู กลับไปมา 30 นาที เพื่อให้ไขมันที่สะสมในเส้นใยฝ้าย
เป็นปุยละเอียด แล้วท าการล้อฝ้ายเป็นการม้วนใยฝ้าย ออกได้ดี ซึ่งการทุบเส้นใยฝ้ายก่อนน าไปย้อมสี
ให้เป็นหลอดกลม ๆ ยาวประมาณ 8-10 นิ้ว ซึ่ง จะท าให้ฝ้ายติดสีหรือกินสีได้ดี
สามารถเก็บหลอดฝ้ายนี้ไว้ได้ก่อนที่จะน ามาปั่นเป็น 2.3 ล้างน้ าให้ผงซักฟอกออกจนหมด น าขึ้น
เส้นใยที่เรียกว่า การเข็นฝ้าย
ตากแดด
ภาพที่ 6 ฝ้ายขาวและฝ้ายกะตุย
ฝ้ายมีความคงทนต่อสารฟอกขาว มีความทน
ต่อด่าง และสามารถทนต่อความร้อนจากแสงแดดได้ดี
การท าความสะอาดเส้นใยฝ้ายเพื่อขจัดไขมัน หรือสิ่ง
สกปรกที่เคลือบอยู่บนเส้นใยฝ้าย หรือเรียกว่าการฆ่า
ฝ้าย โดยการน าไปแช่น้ า 1 คืน น าเส้นฝ้ายมาทุบ ภาพที่ 8 ดอกฝ้ายสีขาว
เพื่อให้น้ าเข้าฝ้าย แล้วจึงน าไปต้มเอาสิ่งสกปรกหรือ
ไขมันที่สะสมอยู่ในเส้นออกให้หมด หลังจากนั้นน าเส้น 5