Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                      สารช่วยติด หรือสารกระตุ้น หรือสารช่วยย้อม       (8-14) ถ้าวัดได้เท่ากับ 7 แสดงว่าสารละลาย
               (Mordant) ที่น ามาใช้ในการช่วยย้อมครั้งนี้ มีอยู่ด้วยกัน      นั้นมีค่าเป็นกลางเทียบได้กับน้ าบริสุทธิ์)

               5 ชนิด (ประภากร สุคนธมณี, 2556) ดังนี้
                                                                              3. น้ าสนิมเหล็ก ได้จากสังกะสีเก่า

                      1. น้ าปูนใส ได้จากปูนแดงที่ใช้กินกับหมาก โดย   ตะปูเหล็กเก่า ๆ หรือเศษเหล็กที่ขึ้นสนิมแล้ว

               ละลายปูนแดงในน้ าสะอาด ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน น าเฉพาะ      แช่น้ าทิ้งไว้ หรือใช้วิธีน าเหล็กไปเผาไฟให้แดง
               ส่วนที่เป็นน้ าใสๆ มาใช้                               แล้วน าไปแช่ในน้ าทิ้งไว้ 2-3 วัน ถึงน าน้ าสนิม

                                                                      มาใช้ น้ าสนิมจะช่วยให้สีเข้มขึ้น ให้เฉดสีเทา-

                      2. น้ าด่างขี้เถ้า ได้จากเถ้าของการเผาถ่านที่ได้จาก  ด าเหมือน สารช่วยติดสีเหล็ก แต่ข้อควรระวัง
               ธรรมชาติ โดยปกติแล้วนิยมใช้เถ้าจากเหง้ากล้วย หรือต้น   ส าหรับการใช้สารช่วยติดสีชนิดนี้คือถ้าสนิม

               กล้วย น ามาตากให้แห้ง แล้วน ามาเผาให้เกิดเป็นเถ้าจึงน า  มากเกินไปจะท าให้เส้นใยเปื่อยได้

               ส่วนที่เป็นขี้เถ้ามาใช้ การน าน้ าด่างขี้เถ้ามาใช้สามารถท าได้
               2 วิธี  1) น าขี้เถ้า ใส่ในอ่างน้ า กวนให้ทั่วทิ้งไว้ 4 – 5 ชั่วโมง   4. น้ าโคลน ได้จากโคลนในบ่อหลัง

               ขี้เถ้าจะตกตะกอน น าน้ าที่ได้ไปกรองให้สะอาด ก่อนน าไปใช้   บ้านที่มีน้ าขังตลอด น าโคลนละลายใน

               2) น าขี้เถ้าใส่ลงในกระป๋องหรือถังที่เจาะรูเล็กๆ หลายๆ รูที่  น้ าเปล่า สัดส่วนน้ า 1 ส่วนต่อดินโคลน 1 ส่วน
               ก้นถังเตรียมไว้ แล้วใส่น้ าลงในถังค่อย ๆ เทให้น้ าซึมลงไปจน  จะได้โทนสีเข้มขึ้น หรือโทนสีเทา-ด า

               ท่วมขี้เถ้า แขวนถังไว้บนที่สูง  น าภาชนะอื่นมารองรับน้ าที่  เช่นเดียวกับน้ าสนิม อีกทั้งยังสามารถน าโคลน
               หยดซึมลงมาจากถังนั้นก่อนน าน้ าไปใช้งาน น้ าด่างขี้เถ้าที่ได้  นี้มาหมักกับเส้นใยหรือผ้าที่ทอแล้วช่วยเพิ่ม

               ออกมาชุดแรก จะมีเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของความเป็นด่าง  ความอ่อนนุ่มให้กับผืนผ้าอีกด้วย

               ค่อนข้างสูง สามารถวัดค่า pH ได้อยู่ในช่วง 10-14  (ค่า pH       5. สารส้ม ช่วยจับยึดเม็ดสีกับเส้นใย
               คือ การวัดภาวะความเป็นกรดหรือด่างของสารละลายในน้ า     และช่วยให้สีสดและสว่างขึ้น

               สารละลายที่มีค่า pH น้อยกว่า 7 จะมีฤทธิ์เป็นกรด (0-6)

               และสารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7 จะมีฤทธิ์เป็นด่าง













                                                                    ภาพที่ 11 บ่อน้ าหลังบ้านที่ตักโคลนขึ้นมาใช้เป็นสารช่วยติดสี

                                                                                                            8
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22