Page 8 -
P. 8
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
6 Thai J. For. 34 (1) : 1-15 (2015)
ประมาณ 0.491 มีค่าสูงสุดในเดือนมีนาคมโดยเฉพาะ การแจกแจงขนาดของละอองลอยในอากาศ
บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยาและแพร่เนื่องจากช่วงนี้ (Aerosol particle size distribution)
เป็นช่วงที่มีแนวความกดอากาศต�่าปกคลุมบริเวณภาคเหนือ การวิเคราะห์การแจกแจงขนาดของละอองลอย
ตอนบนท�าให้อากาศร้อนเหนือพื้นผิวโลกยกตัวสูงขึ้น ในอากาศโดยอาศัยข้อมูลการตรวจวัดภาคสนามของ
ละอองลอยในอากาศจึงถูกพาขึ้นไปแขวนลอยในชั้น สถานี AERONET ของจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่ พ.ศ.
2550 ถึง 2555 (ค.ศ. 2007-2012) โดยพบว่าค่าการสลัวลง
บรรยากาศชั้นล่างท�าให้เกิดหมอกแดด (haze) ส่วนใน ของแสงจากละอองลอยทั้งหมด (total AOD) มีค่า
ช่วงฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม) ค่า AOT มีค่าน้อย ใกล้เคียงกับค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยขนาด
ลงค่าเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 0.186 ทั้งนี้เนื่องจากฝนที่ตกลง เล็ก (fine mode) และค่าการสลัวลงของแสงจากละออง
มาชะล้างเอาฝุ่นละอองลงมาด้วยจึงตรวจวัดได้น้อยลง ลอยทั้งหมด (total AOD) มีค่าใกล้เคียงกับค่าการสลัวลง
ส่วนในช่วงฤดูหนาว (เดือนพฤศจิกายน-มกราคม) ค่า ของแสงจากละอองลอยขนาดใหญ่ (coarse mode)
AOT เฉลี่ยทั้งปีมีค่าประมาณ 0.118 ซึ่งค่า AOT สูงสุดจะ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าปริมาณละอองลอยทั้งหมดในช่วง
ปรากฏในช่วงฤดูก่อนมรสุมมากที่สุดโดยเฉพาะบริเวณ ก่อนฤดูมรสุมเป็นละอองลอยขนาดเล็ก และในทาง
จังหวัดเชียงรายมีค่าประมาณ 0.79 แต่กลับพบว่า กลับกันปริมาณละอองลอยทั้งหมดในช่วงฤดูฝนเป็น
ปริมาณละอองลอยขนาดใหญ่ จึงสรุปได้ว่า (Table 2)
ในช่วงฤดูหนาวก่อนหน้ามีค่า AOT น้อยกว่าในช่วงฤดูฝน
ละอองลอยขนาดเล็กมีอิทธิพลในช่วงฤดูก่อนมรสุม
และละอองลอยขนาดใหญ่มีอิทธิพลมากในช่วงฤดูฝน
Table 2 Fine mode AOT and coarse mode AOT in different seasons.
Fine Mode AOT Coarse Mode AOT
Year Rainy Winter Winter
Pre-Monsoon Pre-Monsoon Rainy season
season season season
2008 0.666 0.153 0.293 0.097 0.329 0.051
2009 0.763 0.128 0.333 0.103 0.230 0.050
2010 0.832 0.142 0.294 0.110 0.260 0.049
2011 0.519 0.132 0.344 0.069 0.199 0.039
2012 1.088 0.178 0.211 0.074 0.184 0.035
การจ�าแนกชนิด และแหล่งที่มาของละออง แถบอินโดจีนช่วงก่อนฤดูมรสุมมีการกระจายละออง
ลอยในอากาศ ขนาดเล็กจากชุมชนเมือง และการเผาในพื้นที่เกษตร
การกระจายขนาดของละอองลอยในอากาศ นอกจากนี้ยังพบว่าเมื่อเปรียบเทียบกับแผนภาพการ
เฉลี่ยทั้งปีในภาคเหนือตอนบน (Figure 1b) มีลักษณะ กระจายขนาดของอนุภาคละอองลอยของ Jaenicke
การกระจายแบบ bimodal คือมียอดกราฟสูงสุด 2 จุด (1993) พบว่าละอองลอยขนาดเล็กในจังหวัดเชียงใหม่ที่มี
อย่างชัดเจนคือ แสดงยอดสูงสุดของละอองลอยขนาด ขนาดอยู่ในช่วง 0.08-0.5 ไมโครเมตร มีขนาดใกล้เคียงกับ
เล็ก (fine mode) ขนาดอนุภาคประมาณ 0.14 ไมโครเมตร เขม่าด�า (Black carbon) หรือควันไฟ (smoke) และละออง
และยอดสูงสุดของละอองลอยขนาดใหญ่ (coarse mode)
มีขนาดอนุภาคประมาณ 5.0 ไมโครเมตร มีรูปแบบ ขนาดใหญ่ที่มีขนาดอยู่ในช่วง 1.3-8.7 ไมโครเมตรนั้น
การกระจายของละอองลอยใกล้เคียงกับการศึกษาของ สามารถเป็นละอองลอยจากละอองเกลือ ขี้เถ้าลอย ละออง
Gautam et al. (2012) ที่ศึกษาลักษณะละอองลอยใน เกสร ฝุ่นทรายขนาดเล็ก และเมฆ หมอก (Figure 1a)