Page 4 -
P. 4

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 2                          Thai J. For. 34 (1) : 1-15 (2015)



                                                      บทคัดย่อ


                        การเผาไหม้มวลชีวภาพทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเป็นสาเหตุหลักของละออง
                 ลอยในบรรยากาศ (aerosols) มากขึ้นซึ่งอาจมีผลกระทบต่อปริมาณน�้าฝนโดยเฉพาะในช่วงฤดูกาลเผา งานการวิจัยนี้มี
                 วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของละอองลอยในบรรยากาศที่ต่อเมฆ และปริมาณน�้าฝนในบริเวณภาคเหนือตอน
                 บนของประเทศไทยโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม MODIS (Terra/Aqua) และ

                 ข้อมูลจากสถานี AERONET ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003-2012  ผลการศึกษาพบว่า ค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยใน
                 บรรยากาศ (AOT) มีค่าสูงสุดในฤดูก่อนมรสุมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเดือนมีนาคมบริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยาและแพร่
                 (เฉลี่ยประมาณ 0.5) ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลจุดความร้อนจากการเผาชีวมวล (hotspot) และลดลงในเดือนมิถุนายนถึง
                 กรกฎาคม นอกจากนี้ยังพบว่าในช่วงฤดูฝนจะพบอนุภาคละอองลอยขนาดใหญ่เป็นส่วนใหญ่แต่ในช่วงฤดูก่อนมรสุม
                 กับพบละอองลอยอนุภาคขนาดเล็กเกือบทั้งหมดซึ่งมาจากเขม่าควันไฟที่เกิดจากการเผาชีวมวลในช่วงนั้น ทั้งนี้ยังพบ
                 ว่าปริมาณน�้าฝน (R) มีความสัมพันธ์มากกับปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้า (CF) และปริมาณน�้าที่เป็นของเหลวในเมฆ
                 (CWC) ในทิศทางเดียวกัน และมีความสัมพันธ์อย่างมากกับค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยในอากาศ (AOT)
                 และจุดความร้อน (HP) ในทิศทางตรงกันข้ามของทุกจังหวัด การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแสดงให้เห็นว่าละออง
                 ลอยในบรรยากาศมีความสัมพันธ์แบบผกผันกับปริมาณน�้าฝนอย่างมีนัยส�าคัญ นอกจากนี้พบข้อสังเกตว่าในปีใดที่มี

                 การเผาชีวมวลสูงซึ่งท�าให้เกิดละอองลอยในบรรยากาศมากอาจส่งผลท�าให้ฝนเริ่มตกช้ากว่าปกติประมาณ 1-2 เดือน

                 ค�าส�าคัญ: ละอองลอยในบรรยากาศที่เกิดจากการเผามวลชีวภาพ, เมฆ, ปริมาณน�้าฝน, ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย


                                 ค�าน�า                      จากการปล่อยก๊าซซัลไฟด์โดยสิ่งมีชีวิตในทะเล  และ
                                                             ก๊าซซัลเฟอร์โดยการเผาไหม้ เชื้อเพลิงจากซากพืชและ
                        การปล่อยมลพิษขึ้นสู่บรรยากาศจากกิจกรรม  ซากสัตว์ Ackermann (1998) แบ่งละอองลอยออกเป็น
                 ทางเศรษฐกิจของมนุษย์ หลังปฏิวัติอุตสาหกรรมใน  ละอองลอยที่ไม่ละลายน�้า เช่น เขม่า และละอองลอยที่
                 ช่วง 150 ปี ที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศ  ละลายน�้าได้ (water soluble) เช่น เกลือ (sea salts) ซึ่ง
                 ของโลก มลพิษดังกล่าวที่ส�าคัญ ได้แก่ ก๊าซเรือนกระจก   จะมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อค่าความชื้นสัมพันธ์เพิ่มขึ้น การ
                 และละอองลอยในบรรยากาศ (aerosols) โดย Haywood   ที่ปริมาณของละอองลอยในบรรยากาศเพิ่มขึ้นส่งผล
                 and Boucher (2000) ให้ความหมายของละอองลอย   ทั้งทางตรง และทางอ้อมต่อระบบภูมิอากาศ ทั้งในด้าน
                 (aerosol) หมายถึงอนุภาคทั้งของแข็ง และของเหลวที่  อุณหภูมิ สมดุลพลังงาน และปริมาณฝน ความรุนแรง
                 แขวนลอยอยู่ในบรรยากาศที่มีขนาดตั้งแต่ 0.001  ถึง 0.1   ของผลดังกล่าวขึ้นกับชนิดและปริมาณของละอองลอย

                 ไมโครเมตร  นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งตามการเกิดได้แก่    ในบรรยากาศ ซึ่งมีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่
                 ละอองลอยปฐมภูมิ (Primary aerosols) คือละอองลอยที่  ส�าหรับบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นบริเวณที่
                 เกิดจากการปล่อยจากแหล่งก�าเนิดโดยตรงเช่น  เถ้าถ่าน  มีการปล่อยละอองลอยในบรรยากาศ ขึ้นสู่บรรยากาศ
                 ที่เกิดจากการกระท�าของโรงงานอุตสาหกรรม  อนุภาค  ค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับบริเวณอื่นของโลก ทั้งนี้ เนื่อง
                 เกลือทะเลที่มาจากการปลดปล่อยจากพื้นมหาสมุทร   มาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม และการเผาไหม้ชีวมวล
                 และฝุ่นดินที่เกิดจากการกระท�าโดยลมบนพื้นดิน  และ  ต่างๆ อย่างกว้างขวาง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจ และสังคม
                 ละอองลอยทุติยภูมิ (secondary aerosols) คือละอองลอย  เช่น กรณีควันไฟที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อเดือนมีนาคม
                 ที่เกิดจากการท�าปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) ของ  ปี พ.ศ. 2550  และ พ.ศ. 2555 ซึ่งอาจส่งผลระยะยาวต่อ
                 ก๊าซในบรรยากาศ เช่น ละอองลอยประเภทซัลเฟตที่เกิด  ระบบภูมิอากาศของประเทศไทย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9