Page 7 -
P. 7

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 34 (1) : 1-15 (2558)                       5
                                                         ์


                            ผลและวิจารณ์                             การแปรผันเชิงพื้นที่ของละอองลอยในอากาศ

                                                             บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
                        การรายงานผลการศึกษาได้แบ่งออกเป็น 3
                  ส่วนหลักได้แก่ 1) การแปรผันเชิงพื้นที่ และตามฤดูกาล     ผลการศึกษาลักษณะการกระจายเชิงพื้นที่ของ
                 ของละอองลอยในอากาศ  2) การแปรผันของเมฆและ   ละอองลอยในอากาศบริเวณภาคเหนือตอนบนพบว่า

                 ปริมาณน�้าฝนในภาคเหนือตอนบน และ 3) ความสัมพันธ์  ค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยในอากาศ (AOT)
                 ของละอองลอยในอากาศ กับเมฆ และปริมาณน�้าฝน   เฉลี่ยรายปีประมาณ 0.25 ซึ่งอยู่ในระดับน้อย แต่จะ
                 รวมถึงการคาดการณ์ผลกระทบของละอองลอยต่อ      พบมากในเดือนมีนาคมเฉลี่ยประมาณ 0.63 แสดงว่า
                 ปริมาณน�้าฝนรายละเอียดดังต่อไปนี้           ท้องฟ้ามีความขุ่นมัวมาก สอดคล้องกับค่าฝุ่นขนาดเล็ก

                 การแปรผันเชิงพื้นที่ และตามฤดูกาลของละอองลอย  กว่า 10 ไมครอน (PM ) ในเดือนมีนาคมเฉลี่ยมากกว่า
                                                                             10
                 ในอากาศบริเวณภาคเหนือตอนบน                  120 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร (เกินมาตรฐาน)โดยในช่วงนี้

                        การศึกษานี้ใช้ค่าการสลัวลงของแสงจาก  พบว่าเป็นฤดูการเผาป่า และเผาซากพืชเกษตรอีกด้วย
                 ละอองลอยในอากาศ (AOT) เป็นตัวบ่งชี้ถึงระดับการ      เมื่อสังเกตลักษณะการกระจายเชิงพื้นที่ของ
                 ดูดกลืนแสงและการกระเจิงแสง ซึ่งเป็นสมบัติเชิงแสง  ละอองลอยพบว่า บริเวณจังหวัดแพร่มีละอองลอยใน
                 ของละอองลอยในอากาศซึ่งขึ้นอยู่กับชนิด และความ  อากาศเฉลี่ยทั้งปีมากที่สุดโดยมีค่าการสลัวลงของแสงจาก
                 หนาแน่นของละอองลอย  เมื่ออินทิเกรดค่าสัมประสิทธิ์  ละอองลอยในอากาศ (AOT) เท่ากับ 0.32 และพบว่าจังหวัด

                 การสลัวลงของแสงที่ระดับความสูงต่างๆ ของชั้นบรรยากาศ  เชียงใหม่มีละอองลอยเฉลี่ยทั้งปีน้อยที่สุด (AOT=0.18)
                 ตั้งแต่ชั้นต�่าสุดคือติดกับพื้นโลกขึ้นไปจนถึงบรรยากาศ  แต่เมื่อพิจารณาค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยใน
                 ชั้นบนสุด (top of atmosphere; TOA) ค่าความหนาของ  อากาศรายเดือนแล้ว พบว่าละอองลอยเฉลี่ยรายเดือนมี
                 ละอองลอยในอากาศที่มีผลต่อการมองเห็น (optical   ปริมาณสูงสุดในเดือนมีนาคมในทุกจังหวัดโดยเฉพาะ
                 thickness) ละอองน�้าในบรรยากาศท�าให้ เมฆมีรูปแบบ

                 ต่างๆ กัน และการดูดกลืนแสง การกระเจิงแสงแตกต่าง  จังหวัดเชียงรายมีค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอย
                 กัน ค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยในอากาศอื่นๆ   ในอากาศ มากที่สุด (AOT=0.79) และยังพบว่าที่จังหวัด
                 ที่ไม่ใช่เมฆ (noncloud aerosols)  ซึ่งเป็นค�าจ�ากัดความ  เชียงใหม่ละอองลอยในอากาศเฉลี่ยรายเดือนมีนาคม
                 ของ “ค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยในอากาศ”   มีปริมาณน้อยที่สุด (AOT=0.47)  ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณ
                 (Aerosol Optical Thickness, AOT) ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึง  จังหวัดเชียงราย พะเยาและแพร่ในช่วงตั้งแต่ปลายเดือน
                 ได้วิเคราะห์ข้อมูลค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอย  กุมภาพันธ์ และมีนาคมนั้นมีการเก็บเกี่ยวข้าวโพด หรือ

                 ในอากาศ (AOT) จากภาพถ่ายจากดาวเทียม Terra/Aqua   อ้อย และเผาตอซังข้าวโพดเพื่อเตรียมพื้นที่เพื่อปลูกใน
                 MODIS เฉลี่ยรายเดือนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง 2555   รอบต่อไป นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณ
                 (ค.ศ. 2003-2012) เป็นตัวแปรบ่งชี้ความหนาแน่นของ  ละอองลอยเฉลี่ยรายเดือนน้อยที่สุดในเดือนกรกฎาคม
                 ละอองลอยในอากาศ ถ้า AOT มีค่าสูง หมายถึงมีความ
                 หนาแน่นของละอองลอยในอากาศมาก การลดทอนของ            การแปรผันตามฤดูกาลของละอองลอยใน

                 แสงเป็นไปได้มาก  ซึ่งพบว่า AOT มีการแปรผันไปตาม  อากาศบริเวณภาคเหนือตอนบน
                 ฤดูกาล และเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละพื้นที่ขึ้นกับปริมาณ     ผลการศึกษาพบว่า AOT มีค่าสูงในช่วงฤดูก่อน
                 ละอองลอยที่ถูกปล่อย และสภาพอากาศในบริเวณนั้น    มรสุม (เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน) เฉลี่ยทั้งภูมิภาคมีค่า
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12