Page 6 -
P. 6
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4 Thai J. For. 34 (1) : 1-15 (2015)
1.2 วิเคราะห์ขนาดละอองลอยในบรรยากาศ ละอองลอยในบรรยากาศ
จากสถานีตรวจวัดภาคพื้นดิน (AERONET station) 3. วิเคราะห์ความแปรผันของเมฆ และปริมาณ
ของสถานีจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ตัวแปรการแจกแจง น�้าฝนรายวัน และรายเดือนโดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม
ขนาดของละอองลอยในบรรยากาศ (aerosol particle MODIS และ TRMM ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง 2555 (ค.ศ.
size distribution) โดยน�าข้อมูลแบ่งออกเป็น ละออง 2003-2012) ได้แก่ ปริมาณน�้าที่เป็นของเหลวในเมฆ
ลอยขนาดเล็ก (fine mode เส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 1 (clouds water content; CWC) เมฆปกคลุมท้องฟ้า หรือ
ไมครอน และละอองลอยขนาดใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลาง สัดส่วนเมฆในท้องฟ้า (cloud cover or cloud fraction)
มากกว่า 1 ไมครอน (course mode) แล้วน�ามาเปรียบ และปริมาณน�้าฝน (rainfall amount) และจ�าแนกข้อมูล
เทียบกับขนาดของละอองลอยแต่ละประเภทเพื่อจ�าแนก ละอองลอย เมฆ และปริมาณน�้าฝนออกเป็น วันที่มี
ชนิดของละอองลอยในบรรยากาศที่พบในบริเวณภาค ละอองลอยในบรรยากาศปกติ (non-hazy day) และวัน
เหนือตอนบน ที่มีการเผา หรือปล่อยละอองลอยอย่างเข้มข้น (polluted
2. วิเคราะห์ต�าแหน่ง และจ�านวนจุดความร้อน day) โดยเลือกวันที่มีจุดความร้อน (hotspot) ปรากฏขึ้น
(hotspot) จากการเผามวลชีวภาพจากข้อมูลภาพถ่าย และวันที่มีฝุ่นขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM ) เกิน
10
ดาวเทียม MODIS เพื่อทราบการกระจาย และหาความ ค่ามาตรฐาน (มากกว่า 120 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร) เพื่อ
สัมพันธ์ของละอองลอยในบรรยากาศกับปริมาณการ เปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะผลกระทบที่อาจ
เกิดไฟป่าในแต่ละช่วงเวลาเพื่อทราบแหล่งที่มาของ เกิดขึ้น (Table 1)
Table 1 Criteria of aerosol classification (based on Hotspot and PM data)
10
Criteria of aerosol classification
Factors
Normal day (Non-hazy day) Burning day (Polluted day)
1) Hotspot number Disappear Appear
2) PM 10 < 120 µg/m 3 > 120 µg/m 3
4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย R = f {AOT, APS, Hot, CF, CWC}
ละอองลอยในอากาศ เมฆ และปริมาณน�้าฝนโดยใช้
สหสัมพันธ์พหุคูณ (multiple correlations) เพื่อทราบ เมื่อ AOT = Aerosol Optical Thickness
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณน�้าฝน และทิศทางความ (ไม่มีหน่วย)
สัมพันธ์ APS = Aerosol Particle Size (%)
5. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางสถิติของละออง R = Rainfall amount (มิลลิเมตร)
ลอยในอากาศ กับเมฆ และปริมาณน�้าฝน เพื่อหาแบบ Hot = Hot spot (จุด)
จ�าลองที่เหมาะสมส�าหรับคาดการณ์ผลกระทบจาก CF = Cloud fraction (ไม่มีหน่วย)
ละอองลอยในอากาศต่อปริมาณน�้าฝนในพื้นที่ภาค CWC = Cloud water content
เหนือตอนบนโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (กรัม/ตารางเซนติเมตร)
(multiple regression analysis) ดังแนวคิดต่อไปนี้