Page 5 -
P. 5

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 34 (1) : 1-15 (2558)                       3
                                                         ์


                        ในปัจจุบันองค์ความรู้เกี่ยวกับละอองลอย  พ.ศ. 2546 ถึง 2555 (ค.ศ. 2003-2012) โดยแปลงข้อมูล

                 ในบรรยากาศ ตลอดจนผลกระทบของละอองลอยใน       จากระบบพิกัดภูมิศาสตร์ GCS_WGS_1984 ซึ่งเป็น
                 บรรยากาศต่อสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยยังมีอยู่  แสดงผลแบบละติจูด และลองติจูด (ขนาด 0.5×0.5
                 น้อยมาก ดังนั้นในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ  องศา) เป็นระบบพิกัดภูมิศาสตร์ UTM: WGS_1984_
                 ศึกษาลักษณะ หรือรูปแบบของละอองลอยในบรรยากาศ  UTM_Zone_47N ใช้โปรแกรม ARCGIS 9.3
                 บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในอดีตโดย            2. ข้อมูลดัชนีละอองลอยในบรรยากาศรายวัน
                 ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม MODIS เพื่อวิเคราะห์ความ  และรายเดือนจากจากสถานีภาคพื้นดิน (AERONET
                 แปรผันเชิงปริมาณ ชนิด และการกระจายเชิงพื้นที่ รวมทั้ง   station) ในจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ค่าความขุ่นมัวของ
                 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณละอองลอยใน  อากาศอันเนื่องมาจากละอองลอย (aerosol optical
                 บรรยากาศกับเมฆ และปริมาณน�้าฝนเพื่อศึกษาผลกระทบ  depth; AOD) และการแจกแจงขนาดของละอองลอยใน
                 ของละอองลอยในบรรยากาศโดยใช้วิธีการวิเคราะห์  บรรยากาศ (aerosol particle size distribution) ตั้งแต่ปี
                                                             พ.ศ. 2550 ถึง 2555 (ค.ศ. 2007-2012)
                 การถดถอยพหุคูณ
                                                                     3. ข้อมูลต�าแหน่ง และจ�านวนครั้งที่เกิดไฟป่า
                          อุปกรณ์ และวิธีการ                 และการเผามวลชีวภาพรายวันจากภาพถ่ายดาวเทียม
                                                             (Terra/ Aqua) MODIS ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง 2555
                 พื้นที่ศึกษา                                (ค.ศ. 2003-2012)

                        ในการศึกษาวิจัยนี้เลือกพื้นที่ภาคเหนือตอนบน     4. ข้อมูลสัดส่วนของเมฆ (cloud fraction; CF)
                 ของประเทศไทยซึ่งเป็นพื้นที่ตัวแทนแหล่งปล่อยละออง  ปริมาณน�้าในเมฆ (cloud water content; CWC) และ
                 ลอยจากไฟป่า และการเผามวลชีวภาพเนื่องจากมีรายงาน  ปริมาณน�้าฝน (rainfall amount) รายวัน จากภาพถ่าย
                 ปัญหาหมอกควันในช่วง 5-10 ปีที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง   ดาวเทียม TRMM ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง 2555
                 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในช่วงฤดูก่อนมรสุม หรือ     5. ข้อมูลฝุ่นขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM )
                                                                                                   10
                 ฤดูร้อนส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการเกิดเมฆ และฝน  จากสถานีตรวจวัดข้อมูลมลพิษอากาศของกรมควบคุม
                 จนเกิดภาวะแห้งแล้งรุนแรงขึ้นได้ โดยงานวิจัยนี้ก�าหนด  มลพิษ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ถึง 2555 (ค.ศ. 2005-2012)
                 พื้นที่ศึกษาอยู่ระหว่างลองจิจูด 98 องศาตะวันออกไป
                 จนถึงลองจิจูด 101 องศาตะวันออก และละติจูดที่ 17.5   การวิเคราะห์ข้อมูล
                                                                     1. วิเคราะห์ลักษณะ และความแปรผัน ของ
                 องศาเหนือไปจนถึงละติจูดที่ 20 องศาเหนือ ซึ่งครอบคลุม    ละอองลอยในอากาศทั้งปริมาณ และขนาดของละออง
                 พื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยได้แก่   ลอยในบรรยากาศเชิงพื้นที่ และเชิงเวลาโดยแบ่งการ
                 จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ล�าพูน ล�าปาง   ศึกษาออกเป็น 2 ส่วนคือ
                 พะเยา แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์                          1.1 วิเคราะห์ความแปรผันของปริมาณของ

                                                             ละอองลอยในบรรยากาศเชิงพื้นที่ และตามฤดูกาลจาก
                 การเก็บรวบรวมข้อมูล                         ภาพถ่ายดาวเทียม MODIS (Terra/Aqua) โดยใช้ค่าการ
                        รวบรวมข้อมูล และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  สลัวลงของแสงจากละอองลอยในบรรยากาศ (Aerosol
                 ในอดีตได้แก่                                Optical Thickness; AOT) เป็นตัวบ่งชี้ความเข้มข้นของ
                        1. ข้อมูลดัชนีละอองลอยในบรรยากาศรายวัน   ปริมาณละอองลอยในบรรยากาศเฉลี่ยรายเดือน และ

                 และรายเดือนจากภาพถ่ายจากดาวเทียม (Terra/ Aqua)   ตามฤดูกาลโดยแบ่งออกเป็นช่วงฤดูหนาว (พฤศจิกายน-
                 MODIS คือ ค่าการสลัวลงของแสงจากละอองลอยใน   มกราคม) ฤดูก่อนมรสุม (กุมภาพันธ์–เมษายน) และฤดูฝน
                 บรรยากาศ (Aerosol Optical Thickness; AOT) ตั้งแต่   (พฤษภาคม-ตุลาคม)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10