Page 71 -
P. 71
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 65-75 (2558) 69
์
อย่างไรก็ตามจากการศึกษาของ Puangchit et al. ของกิ่ง (W ) มวลชีวภาพของใบ (W) และมวลชีวภาพ
b
l
(2005) พบว่า ไผ่หวานอ่างขาง อายุ 1-3 ปี ในแปลงรวม รวม (W) ของไผ่แต่ละชนิด ทั้ง 4 ชั้นอายุ โดยอาศัย
t
พันธุ์แม่เหียะ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีการเติบโต รูปแบบสมการ allometric relation (Table 2-3) จาก
ทางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก และการเติบโต สมการประมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไผ่ทั้ง 4
ทางความสูงน้อยกว่าไผ่หวานอ่างขางที่ท�าการศึกษาใน ชนิด ทั้ง 4 ชั้นอายุ พบว่า ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง
สถานีเกษตรหลวงอ่างขางที่อายุเดียวกัน และขนาดของ อก (DBH) และความสูงทั้งหมด (H) มีความสัมพันธ์กัน
ไผ่หวานอ่างขางที่แปลงรวมพันธุ์แม่เหียะมีขนาดค่อน อย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ (p≤0.01) ซึ่งสอดคล้องกับ
ข้างเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับไผ่ชนิดเดียวกันที่มีอายุเท่า การศึกษาของ Kira and Shidei (1967) ที่พบว่า การน�าเอา
กันที่สถานีเกษตรหลวงปางดะ อ�าเภอสะเมิง จังหวัด ความสูงทั้งหมด (H) มาเป็นตัวแปรอิสระร่วมกับขนาด
2
เชียงใหม่ (Puangchit et al., 2004) เนื่องจากโดยปกติแล้ว เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกยกก�าลังสอง (DBH ) ในรูป
2
การเติบโตของไผ่ขนาดของไผ่ถูกควบคุมโดยลักษณะ ของ DBH H จะท�าให้สามารถประมาณหาปริมาณมวล
2
ทางพันธุกรรม ไผ่บางชนิดจะมีขนาดล�าใหญ่ ในขณะที่ ชีวภาพได้อย่างถูกต้องที่สุด เนื่องจาก DBH H เป็นค่า
ไผ่บางชนิดมีขนาดล�าค่อนข้างเล็ก แต่ทั้งนี้ขนาดของล�า โดยประมาณของปริมาตรไม้ ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่าง
ก็จะแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ การเติบโตของไผ่จะโต ใกล้ชิดกับมวลชีวภาพหรือน�้าหนัก ในส่วนของการ
เต็มที่ภายในหนึ่งฤดูกาลเติบโต โดยล�าที่เกิดทีหลังมัก ศึกษามวลชีวภาพของไผ่นั้น Othman (1994) ได้น�า
2
มีขนาดของล�าใหญ่กว่าล�าที่เกิดก่อน (Puangchit et al., สมการในรูปของ DBH H มาใช้เพื่อประมาณหามวล
2005) ดังนั้นไผ่ชนิดเดียวกันแต่ปลูกในพื้นที่ต่างกันจึง ชีวภาพเหนือดินของไผ่ ซึ่งก็พบว่า มีความสัมพันธ์อย่าง
มีการเติบโตที่แตกต่างกัน นอกจากนี้การเติบโตของไผ่ ใกล้ชิดกับมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไผ่เช่นเดียวกัน
ที่ผลิตล�าใหม่ในแต่ละปี ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับความหนา แต่อย่างไรก็ตามจากการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์การ
แน่นของล�าในกอ อายุของกอ และปริมาณน�้าฝนในปีที่ ถดถอย (regression coefficient) ของสมการประมาณ
ผ่านมา (Shanmughavel and Francis, 1996) มวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไผ่แต่ละชนิด ทั้ง 4 ชั้น
อายุ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทาง
มวลชีวภาพ สถิติ (p>0.05) จึงสามารถใช้ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย
1. สมการมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ร่วมกันได้ ดังนั้นสมการประมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน
จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง รวมทั้ง 4 ชั้นอายุของไผ่แต่ละชนิด จึงสามารถใช้แทน
2
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกยกก�าลังสอง (DBH ) สมการประมาณมวลชีวภาพของไผ่แต่ละชนิดที่ล�าอายุ
คูณด้วยความสูงทั้งหมด (H) กับมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน 1, 2, 3 และ 4 ปีขึ้นไป ได้ (Table 4)
ของส่วนต่างๆ ได้แก่ มวลชีวภาพของล�า (W ) มวลชีวภาพ
c