Page 76 -
P. 76

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 74                        Thai J. For. 34 (1) : 65-75 (2015)



                        นอกจากนี้ผลการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน     การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ คือ สมการ
                ของไผ่ทั้ง 4 ชนิดยังมีความสอดคล้องกับการศึกษา  ประมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไผ่บงป่า ไผ่บงใหญ่

                ของ Shanmughavel and Francis (1996) ที่พบว่า มวล  ไผ่หก และไผ่หวานอ่างขาง แต่ละชั้นอายุ สามารถใช้
                ชีวภาพเหนือพื้นดินของไผ่ป่า (Bambusa bambos)   สมการรวมทั้ง 4 ชั้นอายุได้ แต่ทั้งนี้สมการมวลชีวภาพ
                ส่วนใหญ่เป็นของล�าร้อยละ 80-85 กิ่งร้อยละ 15-20   ของไผ่ทั้ง 4 ชนิดในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง
                และใบร้อยละ 1 ซึ่งมวลชีวภาพเหนือพื้นดินทั้งหมด  อาจจะใช้ประมาณมวลชีวภาพในพื้นที่อื่นๆ แล้วได้ผล
                มีค่าเท่ากับ 286.00 ตันต่อเฮกแตร์ และจากการศึกษา  คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง เนื่องจากไผ่ชนิดเดียว
                ของ Nath et al. (2009) พบว่า มวลชีวภาพเหนือพื้น  กันแต่ปลูกในพื้นที่ต่างกันย่อมมีการเติบโตที่ต่างกัน
                ดินในส่วนของล�า กิ่ง และใบของไผ่ 3 ชนิด ได้แก่   ดังนั้นจึงควรท�าการศึกษาสมการมวลชีวภาพของไผ่
                B. cacharensis, ไผ่เหลือง และ B. balcooa มีค่าเท่ากับ   ทั้ง 4 ชนิดที่ปลูกในพื้นที่อื่นๆ แล้วเปรียบเทียบกับ

                104.08, 12.22 และ 5.21 ตันต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ  สมการของพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง เพื่อให้ได้
                                  สรุป                       สมการประมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินที่ถูกต้องและ
                                                             เหมาะสมที่สุด
                        การศึกษาการเติบโต มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน
                ของไผ่ 4 ชนิด ทั้ง 4 ชั้นอายุ สามารถสรุปได้ดังนี้            ค�านิยม
                        1. การเติบโตทางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง        คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณมูลนิธิโครงการ
                เพียงอกของไผ่บงป่า มีค่าระหว่าง 3.43-3.85 เซนติเมตร

                ไผ่บงใหญ่มีค่าระหว่าง 12.73-13.84 เซนติเมตร ไผ่หก  หลวง สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ทดลอง
                มีค่าระหว่าง 8.86-9.62 เซนติเมตร และไผ่หวานอ่างขาง  ตลอดจนคุณขจร สุริยะ คุณปราโมทย์ สุขสถิตย์ รวมไปถึง
                มีค่าระหว่าง 7.13-8.74 เซนติเมตร             เจ้าหน้าที่โครงการหลวงทุกท่านที่อ�านวยความสะดวก
                        2. การเติบโตทางความสูงของไผ่บงป่ามีค่า  ในการวิจัยครั้งนี้ และงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัย
                ระหว่าง 8.75-10.11 เมตร ไผ่บงใหญ่มีค่าระหว่าง 20.80-  ระดับบัณฑิตศึกษาจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
                23.34 เมตร ไผ่หกมีค่าระหว่าง 20.02-21.31 เมตร และ  เกษตรศาสตร์ ที่ท�าให้งานวิจัยนี้ส�าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
                ไผ่หวานอ่างขางมีค่าระหว่าง 10.07-15.13 เมตร
                        3. ไผ่บงใหญ่มีมวลชีวภาพเหนือพื้นดินรวมทั้ง       REFERENCES
                4 ชั้นอายุมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ไผ่หก ไผ่บงป่า และ  Bhubharuang, B.  1980.  Soil Characterization

                ไผ่หวานอ่างขาง โดยมีค่าเท่ากับ 87.83, 84.58, 27.39   and Land Potential Assessment of
                และ 20.82 ตันต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ ซึ่งเป็นมวลชีวภาพ  Ang Khang Range, Chiangmai.  M.S.
                ของล�ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80-87 รองลงมา ได้แก่   Thesis, Kasetsart University. (in Thai)
                ส่วนของกิ่งร้อยละ 7-16 และใบร้อยละ 3-6 ตามล�าดับ  Kira, T. and T. Shidei.  1967.  Primary
                        4. สมการประมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน         production and turnover of organic
                รวมทุกชั้นอายุของไผ่ในแต่ละชนิด สามารถน�าไปใช้      matter in different forest ecosystems

                ประมาณหามวลชีวภาพของไผ่ได้                          of the Western Pacific.  J. Jap. Ecol.
                        5. แนวทางในการใช้ประโยชน์ไผ่ควรตัดไผ่       17: 70-87.
                ที่ล�าอายุ 3 และ 4 ปีขึ้นไป เนื่องจากล�าไผ่มีความแข็งแรง  Nath, A.J., G. Das and A.K. Das.  2009.  Above
                เพียงพอที่จะน�าไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้         ground standing biomass and carbon
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81