Page 80 -
P. 80
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
78 Thai J. For. 34 (1) : 76-86 (2015)
Cassia ใช้ลักษณะเซลล์คุม ปากใบและ ขน จัดจ�าแนก จ�านวนและวัดขนาดเซลล์ผ่านกล้องจุลทรรศน์ Zeizz –
(Saheed and Illoh, 2010) พืชสกุล Persicaria ท�าการ axioskop 40 โดยใช้โปรแกรมวัดขนาดภาพ axioskop 40
จัดจ�าแนกโดยใช้ลักษณะเซลล์ผิว รูปร่างเซลล์ผิว ปาก ในการนับจ�านวนเซลล์และวัดขนาดเซลล์ ท�าการวัด
ใบและ ขน (Yasmin et al., 2010) พืชสกุล Litsea จัด 10 ช่วง ในแต่ละใบ โดยวัดทั้งหมด 3 ใบ (ซ�้า) ซึ่งระยะ
จ�าแนกโดยใช้ปากใบ ต่อมน�้าหวาน และ ขน (Paliwal et หนึ่งช่วงคือ ระยะของเซลล์ยนต์ซึ่งมีมัดท่อล�าเลียง
al., 2012) พืช Smilax syphilitica ใช้ลักษณะของเซลล์ (vascular bundle) อยู่กึ่งกลาง โดยลักษณะที่ศึกษา มี
ผิวทั้งสองด้าน ปากใบ เซลล์ที่สะสมลิกนิน ผลึกและ ดังนี้ นับจ�านวนเซลล์ผิวและวัดความกว้างเซลล์ผิว นับ
หนาม (Silva et al., 2012) จ�านวนและวัดความสูงเซลล์ยนต์เฉพาะที่เซลล์ผิว
ด้านบน นับจ�านวนและวัดความกว้างผลึกซิลิกา ที่พบ
อุปกรณ์และวิธีการ ที่เซลล์ผิวและซิลิการูปพัด ที่พบในเซลล์ยนต์ และนับ
การศึกษาในครั้งนี้ใช้ตัวอย่างใบแห้งใน จ�านวนและวัดความกว้างปากใบนับจ�านวนและวัด
พิพิธภัณฑ์ไผ่คณะวนศาสตร์และองค์การพิพิธภัณฑ์ ความยาวของขน (Figure 1)
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ(อพวช.) ทั้งสิ้น 3 สกุล 15 ชนิด ผลและวิจารณ์
ชนิดละ 3 ใบ 45 ตัวอย่าง ได้แก่ ไผ่ด้ามพร้า ไผ่ไร่ ไผ่
ล�ามะลอก ไผ่บงด�า ไผ่ป่า ไผ่เขียว ไผ่บงหวานเมืองเลย ลักษณะทางกายวิภาคตัดตามขวางของใบ
ไผ่นวล ไผ่รวกเขา ไผ่มันหมู ไผ่ซางด�า ไผ่ซาง ไผ่หก ไผ่บริเวณกึ่งกลางใบ ในหนึ่งช่วงของเซลล์ยนต์ซึ่งมี
ไผ่บงใหญ่ และไผ่กระโรม ท�าการศึกษาโดยท�าสไลด์ มัดท่อล�าเลียงอยู่กึ่งกลาง ประกอบด้วย เนื้อเยื่อชั้นผิว
ถาวรด้วยวิธีพาราฟิน ย้อมสีด้วย สี Safranin O และ (epidermis) 1 ชั้น มีโซฟิลล์ (mesophyll) ประกอบด้วย
สี Fast green (Siripatanadilok, 1983) ศึกษาลักษณะ เซลล์ plicate และเซลล์ fusoid และมัดท่อล�าเลียง (vascular
ต่างๆ ของเซลล์และวัดขนาดด้วยกล้องจุลทรรศน์ การ bundle) พบมัดท่อล�าเลียงของเส้นใบหลัก (vein) และ
ศึกษาโครงสร้างกายวิภาคของใบไผ่ท�าการศึกษาเฉพาะ มัดท่อล�าเลียงของเส้นใบย่อย (veinlet) (Figure 1 and 2)
ด้านตัดขวางของใบบริเวณกึ่งกลางแผ่นใบ (Figure 1) เนื้อเยื่อชั้นผิวด้านบน (upper epidermis) และเนื้อเยื่อ
แบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือการศึกษาลักษณะเซลล์ผิว ชั้นผิวด้านล่าง (lower epidermis) มีความแตกต่างกัน
ด้านบน (UE) และเซลล์ผิวชั้นล่าง (LE) ของใบด้านตัด เนื้อเยื่อชั้นผิวประกอบด้วยเซลล์ผิว (epidermal cell)
ขวางโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ compound microscope นับ เซลล์ยนต์ ขน ปากใบ และผลึกซิลิกา