Page 68 -
P. 68
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
66 Thai J. For. 34 (1) : 65-75 (2015)
บทคัดย่อ
การศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดินในสวนไผ่ที่มีอายุล�าต่างกัน ณ สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่
ได้ท�าการศึกษาในสวนไผ่ 4 ชนิด ได้แก่ ไผ่บงป่า (Bambusa longispatha) ไผ่บงใหญ่ (Dendrocalamus brandisii) ไผ่หก
(Dendrocalamus hamiltonii) และไผ่หวานอ่างขาง (Dendrocalamus latiflorus) ที่ล�าอายุ 1, 2, 3 และ 4 ปีขึ้นไป ท�าการ
วางแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ (randomized complete block design; RCBD) โดยวางแปลงขนาด 20×20
เมตร จ�านวน 2 แปลง ในแต่ละชนิด
จากผลการศึกษา พบว่า การเติบโตทางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกของไผ่บงป่าทั้ง 4 ชั้นอายุ มีค่าระหว่าง
3.43-3.85 เซนติเมตร ไผ่บงใหญ่มีค่าระหว่าง 12.73-13.84 เซนติเมตร ไผ่หกมีค่าระหว่าง 8.86-9.62 เซนติเมตร และ
ไผ่หวานอ่างขางมีค่าระหว่าง 7.13-8.74 เซนติเมตร ส่วนการเติบโตทางความสูง ไผ่บงป่ามีค่าระหว่าง 8.75-10.11
เมตร ไผ่บงใหญ่มีค่าระหว่าง 20.80-23.34 เมตร ไผ่หกมีค่าระหว่าง 20.02-21.31 เมตร และไผ่หวานอ่างขางมีค่า
ระหว่าง 10.07-15.13 เมตร ส่วนมวลชีวภาพรวมทั้ง 4 ชั้นอายุ ไผ่บงใหญ่มีมากที่สุด รองลงมาคือ ไผ่หก ไผ่บงป่า และ
ไผ่หวานอ่างขาง โดยมีค่าเท่ากับ 87.83, 84.58, 27.39 และ 20.82 ตันต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ ซึ่งเป็นมวลชีวภาพของล�า
ร้อยละ 80-87 กิ่งร้อยละ 7-16 และใบร้อยละ 3-6
ค�าส�าคัญ: มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน สวนไผ่ Dendrocalamus Bambusa
ค�าน�า เกษตรหลวงอ่างขางแต่เดิมนั้นไม่มีไผ่ขึ้นอยู่ ในแต่ละปี
ไผ่เป็นพืชโตเร็วชนิดหนึ่งที่มีรอบตัดฟันสั้น ทางสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง และประชาชนในพื้นที่
ที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับไม้โตเร็วชนิดอื่น อีกทั้งมีความ ใกล้เคียงต้องการใช้ไผ่เป็นจ�านวนมาก ส่วนใหญ่ใช้เป็น
สามารถในการปรับตัวสูง ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ ไม้ค�้ายันส�าหรับไม้ผลยืนต้นเมืองหนาว ทางโครงการ
เป็นอย่างดี และเติบโตได้กับดินในทุกพื้นที่ จึงสามารถพบ ปลูกป่าบนที่สูง (Highland Reforestation Project) ได้
ไผ่เกือบทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะบริเวณเขตร้อน เล็งเห็นความส�าคัญดังกล่าว จึงได้ท�าการทดลองปลูก
และเขตอบอุ่นบางส่วน ในประเทศไทยมีไผ่ที่พบตาม ไผ่ต่างถิ่นจากไต้หวันควบคู่กับไผ่ในประเทศไทยหลาย
ธรรมชาติอยู่ 15-20 สกุล ประมาณ 80-100 ชนิด กระจาย ชนิด จนปัจจุบันแปลงปลูกไผ่เหล่านี้ได้กลายเป็นส่วน
อยู่ทั่วทุกภูมิภาคตามป่าเบญจพรรณหรือป่าผสมผลัดใบ หนึ่งของ “สวนป่าสาธิตสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง”
และป่าดิบชื้น (Sungkaew et al., 2011) และไผ่บางชนิดก็ได้จ�าหน่ายให้สวนสัตว์เชียงใหม่ เพื่อ
สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ใช้เป็นอาหารของหมีแพนด้าตั้งแต่แรกมาจนถึงทุกวันนี้
เป็นโครงการหนึ่งที่ด�าเนินงานตามแนวพระราชด�าริของ (Thaiutsa, 2000)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ว่าด้วยการปลูกป่า 3 อย่าง แต่เนื่องจากสถานีเกษตรหลวงอ่างขางได้มี
เพื่อใช้ประโยชน์ 4 อย่าง ซึ่งทรงมีพระราชประสงค์ที่ การน�าไผ่ออกไปใช้ประโยชน์ทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
จะฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และแหล่งต้นน�้าล�าธารที่มีความ ไผ่บงป่า ไผ่บงใหญ่ ไผ่หก และไผ่หวานอ่างขาง เป็นต้น
ส�าคัญต่อระบบนิเวศ โดยได้มีการทดลองปลูกสร้าง ซึ่งในแต่ละปีจึงควรทราบถึงปริมาณมวลชีวภาพเหนือ
สวนป่าไม้โตเร็วต่างถิ่นหลายชนิด ไผ่เป็นพืชอีกชนิด พื้นดินในแต่ละชั้นอายุของล�า ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้
หนึ่งที่ได้ท�าการทดลองปลูกในรูปแบบของการศึกษา จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณหามวลชีวภาพเหนือ
วิจัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เป็นต้นมา เนื่องจากพื้นที่สถานี พื้นดินของไผ่ 4 ชนิดที่มีอายุล�าต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น