Page 69 -
P. 69
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 65-75 (2558) 67
์
ทั้งนี้ผลที่ได้สามารถน�ามาใช้หาแนวทางที่เหมาะสมใน คือ ไผ่บงป่า ไผ่บงใหญ่ ไผ่หก และไผ่หวานอ่างขาง
การจัดการผลผลิตสวนไผ่ของสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จ�านวนชนิดละ 2 แปลง ซึ่งไผ่บงใหญ่ ไผ่หก และไผ่
ได้ในอนาคต หวานอ่างขาง มีระยะปลูก 5×5 เมตร (64 กอต่อไร่) ใน
ขณะที่ไผ่บงป่า มีระยะปลูก 4×4 เมตร (100 กอต่อไร่)
อุปกรณ์และวิธีการ โดยท�าการเลือกพื้นที่แปลงทดลองที่มีปัจจัยแวดล้อม
พื้นที่ศึกษา ที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งแปลงทดลองเป็นแปลงปลูกไผ่เมื่อ
ด�าเนินการศึกษาที่สวนไผ่ในพื้นที่สถานีเกษตร ปี พ.ศ. 2536 โดยการขยายพันธุ์ด้วยการแยกเหง้า ดังนั้น
กอไผ่ที่ท�าการศึกษาในปี พ.ศ. 2556 จึงมีอายุ 20 ปี และ
หลวงอ่างขาง อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ลักษณะ การเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้ด�าเนินการเก็บข้อมูลช่วงเดือน
ภูมิประเทศเป็นแอ่งรูปรีคล้ายกระทะ ประกอบด้วยเขา มีนาคมถึงเมษายน พ.ศ. 2556
หินปูน และเขาหินดินดาน ทอดตัวตามแนวเหนือใต้ขนาน การเก็บข้อมูลมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน โดย
กัน สภาพภูมิประเทศแบบคาสต์ (Karst topography) ท�าการวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (diameter at
(Bhubharuang, 1980) ความลาดชันของพื้นที่ไหล่เขา breast height; DBH) ของล�าไผ่ทั้ง 4 ชนิด ในแต่ละชั้น
สองด้านส่วนใหญ่อยู่ระหว่างร้อยละ 15-45 สภาพพื้นที่ อายุ จ�านวน 4 ชั้นอายุ คือ 1, 2, 3 และ 4 ปีขึ้นไป ของไผ่
มีทิศด้านลาดไปทางทิศใต้ (Royal Project Foundation, ทุกล�าในแปลง จากนั้นน�าค่าเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก
2012) ลักษณะดินบริเวณสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ที่ได้ในแต่ละชั้นอายุมาแจกแจงความถี่ จ�านวนชั้นอายุละ
ประกอบด้วย กลุ่มดิน 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มดินที่สร้าง 5 อันตรภาคชั้น แล้วก�าหนดขนาดของค่าเส้นผ่านศูนย์กลาง
ตัวมาจากการผุพังของหินดินดาน หินทรายแป้ง หรือ เพียงอกเฉลี่ยในแต่ละอันตรภาคชั้นเป็นล�าตัวอย่างที่จะ
อาจมีบางส่วนของหินแปรปะปนอยู่บ้าง เนื้อดินเป็นดิน ตัด ซึ่งเลือกล�าที่จะตัดจ�านวนชั้นละ 2 ล�า ท�าการตัดล�า
ร่วนเหนียวถึงดินเหนียว อินทรียวัตถุสูงมาก ส่วนดินอีก ของไผ่ทั้ง 4 ชนิด ชนิดละ 10 ล�าในแต่ละชั้นอายุ ในการ
กลุ่มเกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ของหินดินดาน ศึกษาครั้งนี้ท�าการตัดล�าไผ่ทั้งหมด 160 ล�า โดยท�าการ
หินปูน และอาจมีหินทรายแป้งปะปนอยู่ด้วย เนื้อดิน ตัดล�าไผ่ให้ชิดระดับผิวดินมากที่สุด บันทึกขนาดเส้น
เป็นพวกดินเหนียวถึงดินเหนียวปนทรายแป้ง อินทรีย ผ่านศูนย์กลางเพียงอก แล้วบันทึกน�้าหนักสดของล�า กิ่ง
วัตถุสูงมาก (Bhubharuang, 1980) และใบ จากนั้นท�าการสุ่มเก็บตัวอย่างในแต่ละส่วนของ
ลักษณะภูมิอากาศบริเวณสถานีเกษตรหลวง ไผ่ใส่ในถุงกระดาษที่เตรียมไว้ โดยแยกเป็นตัวอย่าง
อ่างขาง มีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นและแห้งแล้งในฤดู ของแต่ละล�า บันทึกน�้าหนักสด เพื่อน�าไปค�านวณมวล
หนาว อุณหภูมิเฉลี่ย 9.10-25.90 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ชีวภาพเหนือพื้นดินต่อไป
เฉลี่ยตลอดปีประมาณ 17.70 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ
เฉลี่ยสูงสุด 32.00 องศาเซลเซียสในเดือนเมษายน การวิเคราะห์ตัวอย่างในห้องปฏิบัติการ
และอุณหภูมิเฉลี่ยต�่าสุด -3.00 องศาเซลเซียสในเดือน การวิเคราะห์ข้อมูลมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน
มกราคม มีปริมาณน�้าฝนเฉลี่ย 2,075.00 มิลลิเมตรต่อ โดยน�าตัวอย่างส่วนต่างๆ ของไผ่มาอบในตู้อบความ
ปี (Royal Agricultural Station Angkhang, 2011) ร้อนที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลาต่อเนื่อง
24-48 ชั่วโมง หรือจนกว่าน�้าหนักของตัวอย่างคงที่ ที่
การเก็บข้อมูลภาคสนาม ห้องปฏิบัติการปฐพีวิทยาป่าไม้ ภาควิชาวนวัฒนวิทยา
วางแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แล้วบันทึก
(randomized complete block design; RCBD) ท�าการ น�้าหนักแห้งของตัวอย่าง เพื่อค�านวณมวลชีวภาพจาก
วางแปลงตัวอย่างขนาด 20x20 เมตร ในสวนไผ่ 4 ชนิด สมการของ Satoo and Senda (1958) ดังนี้