Page 70 -
P. 70
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
68 Thai J. For. 34 (1) : 65-75 (2015)
2 b
W = a(D H) ผลและวิจารณ์
2
หรือ log W = log a + b log D H
จากผลการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน
ของไผ่ทั้ง 4 ชนิด ในแต่ละกอไผ่ที่มีล�าอายุแตกต่างกัน
โดย W = ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน จ�านวน 4 ชั้นอายุ ได้ผลการศึกษาดังนี้
(W = ล�า, W = กิ่ง และ W = ใบ)
l
b
c
D = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก การเติบโต
H = ความสูงทั้งหมด 1. การเติบโตทางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
a, b = ค่าคงที่ เพียงอก
การเติบโตทางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพียงอกของล�าไผ่ที่มีอายุ 1, 2, 3 และ 4 ปีขึ้นไปของ
ไผ่แต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ
ท�าการวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติของ (p>0.05) อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาการเติบโตของล�า
การเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินในส่วนต่างๆ ไผ่ทั้ง 4 ชนิด พบว่า ไผ่บงใหญ่ทั้ง 4 ชั้นอายุมีค่าเฉลี่ย
ของไผ่แต่ละชนิด ตามวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน การเติบโตทางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกมาก
(analysis of variance; ANOVA) ที่สุด รองลงมา คือ ไผ่หก ไผ่หวานอ่างขาง และไผ่บงป่า
ตามล�าดับ (Table 1)
Table 1 Growth of 4 bamboo plantations in different culm ages at Royal Agricultural Station
Angkhang, Chiang Mai province.
Culm age DBH Height Culm age DBH Height
Species Species
(years) (cm) (m) (years) (cm) (m)
1 3.85 9.07 1 9.16 21.31
2 3.61 10.11 2 8.86 19.51
B. longispatha D. hamiltonii
3 3.76 9.71 3 9.22 20.46
≥4 3.43 8.75 ≥4 9.62 20.02
F-value 2.21 ns 2.65 ns F-value 1.08 ns 1.55 ns
1 13.84 23.34 1 8.73 15.13
2 13.64 22.45 2 8.13 14.95
D. brandisii D. latiflorus
3 13.23 21.62 3 8.74 12.53
≥4 12.73 20.80 ≥4 7.13 10.07
F-value 0.56 ns 0.93 ns F-value 4.21 ns 9.09 ns
Remark: non significant difference (p>0.05)
ns
2. การเติบโตทางความสูง ค่าเฉลี่ยทางความสูงมากที่สุด รองลงมา คือ ไผ่หก
การเติบโตทางความสูงของล�าไผ่ทั้ง 4 ชนิด ไผ่หวานอ่างขาง และไผ่บงป่า ตามล�าดับ ซึ่งการเติบโต
เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตทางขนาดเส้น ทางความสูงของล�าไผ่แต่ละชนิด ทั้ง 4 ชั้นอายุแตกต่าง
ผ่านศูนย์กลางเพียงอก คือ ไผ่บงใหญ่ทั้ง 4 ชั้นอายุมี กันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p>0.05) (Table 1)