Page 261 -
P. 261

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               257



                     5. ปัญหาอุปสรรคในการฟื้นฟูทรัพยากร    การส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง และให้ราษฎร
              ป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์   มีบทบาทในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้มากขึ้น โดยการ
              โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง                  ประสานงานร่วมกับภาครัฐ/เอกชน/องค์กรปกครองส่วน
                     6 . ระดับบทบาทของราษฎรในการฟื้นฟู     ท้องถิ่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุรักษ์ทรัพยากร
              ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัด  ป่าไม้ ทั้งในด้านการป้องกัน ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์
              เพชรบูรณ์โดยภาพรวมจัดอยู่ในระดับปานกลาง      จากป่าอย่างยั่งยืน ตลอดจนแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร

                     7. ปัจจัยที่มีผลต่อบทบาทของราษฎรในการ  ระหว่างกันอย่างต่อเนื่อง ภายใต้แนวคิดการจัดการ
              ฟื้นฟูสภาพป่าในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัด  แบบร่วมมือกัน (co-management) ควบคู่กับการพัฒนา
              เพชรบูรณ์  ได้แก่ ชาติพันธุ์ การได้รับการฝึกอบรม  คุณภาพชีวิตชุมชน พร้อมทั้งน้อมน�าแนวพระราชด�าริ
              ด้านป่าไม้  การยอมรับการปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟู  มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโครงการฟื้นฟูและพัฒนา
              สภาพป่าของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ประจ�าโครงการฟื้นฟูและ  พื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ให้
              พัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์  สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และวิถีชีวิตชุมชน อัน

                     การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ 1) จากผลการ  เป็นส่วนหนึ่งของการลดข้อขัดแย้งในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู
              ทดสอบสมมติฐาน สรุปว่า ปัจจัยด้านกลุ่มชาติพันธุ์   ทรัพยากรป่าไม้ได้เป็นอย่างดี
              การฝึกอมรมด้านป่าไม้ และด้านการยอมรับของราษฎร
              ในการปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ของ        เอกสารและสิ่งอ้างอิง
              เจ้าหน้าที่ป่าไม้ประจ�าโครงการฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่  กิติชัย รัตนะ.  2549.  การมีส่วนร่วมในการจัดการลุ่มน�้า.
              เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ต่างกัน มี     ภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย
              บทบาทในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัย
              ลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ แตกต่างกันอย่างมีนัย     เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
              ส�าคัญทางสถิติ ดังนั้น จึงควรมีข้อเสนอแนะที่สอดคล้อง  เกียรติสุดา ศรีสุข.  2552. ระเบียบวิธีวิจัย. โรงพิมพ์

              กับผลการทดสอบสมมติฐาน ดังนี้ 1) ควรส่งเสริมและ      ครองช่าง, เชียงใหม่.
              สนับสนุนให้ราษฎรทุกชาติพันธุ์มีบทบาทตั้งแต่เริ่มต้น  บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ .2537. เทคนิคการสร้าง
              ในการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ตั้งแต่ขั้นตอน  เครื่องมือรวบรวมข้อมูลส�าหรับการวิจัย. พิมพ์
              การส�ารวจ การวางแผน เพื่อให้มั่นใจว่าอยู่บนพื้นที่  ครั้งที่ 4 . แอนด์ บี พับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ.
              ฐานของความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง 2) ควร  พวงรัตน์ ทวีรัตน์.  2540. วิธีเตรียมโครงการวิจัยทาง
              ส่งเสริมและสนับสนุนให้เพิ่มการฝึกอบรมและการ         พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. ส�านักงาน
              ศึกษาดูงานให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟื้นฟูและ  ทดสอบการศึกษาและจิตวิทยา, มหาวิทยาลัย

              อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม และการท�าให้   ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
              ชุมชนทราบว่าตนเองเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากการ  สุบงกช  จามีกร.  2526.  สถิติวิเคราะห์ส�าหรับงาน
              ฟื้นฟูและอนุรักษ์ รวมทั้งการน�าภูมิปัญญาท้องถิ่นมา  วิจัยทางสังคมศาสตร์.  ภาควิชาสถิติ คณะ
              ใช้ในการบริหารจัดการอย่างรอบคอบ และ 3) ควรให้       วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
              เจ้าหน้าที่ป่าไม้ประจ�าโครงการฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่  กรุงเทพฯ.
              เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ และหน่วยงาน  Yamane, T. 1973. Statics: An Introductory Analysis.
                                                                   rd
              ป่าไม้ในพื้นที่ใกล้เคียงเน้นการปฏิบัติงานเชิงรุก มุ่งเน้น  3 ed.. Harper International Edition, Tokyo.
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266