Page 256 -
P. 256
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
252
จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยภาพรวมจัดอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด จากผลการศึกษา พบว่า ชุมชนจัดได้
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า กลุ่มราษฎรมีบทบาท ว่ามีบทบาทในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยง
ด้านศักยภาพชุมชน(ด้านบุคลิกลักษณะ) มากที่สุด รอง ภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ในระดับปานกลาง
ลงมาเป็นบทบาทด้านศักยภาพชุมชน (ด้านผู้น�าชุมชน) ดัง Table 1
ส่วนบทบาทด้านการสนับสนุน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี
Table 1 Mean, standard deviation, and roles of people in forest resource restoration at Nam Kor
and Nam Chun watershed risk areas, Phetchabun province.
Roles of people in forest resource restoration X S.D. Level of roles
1. Afforestation to forest restoration 2.56 0.74 medium
2. Forest protection 2.35 0.74 medium
3. Supporting 2.31 0.78 medium
4. Community potential (overall) 3.30 0.48 medium
4.1 Community potential (characteristics) 3.55 0.55 medium
4.2 Community potential (activity/individual) 2.84 0.63 medium
4.3 Community potential (community leader) 3.52 0.54 medium
Total 3.00 0.39 medium
ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจจะมีผลต่อ ช่วงอายุ 50–59 ปี, อายุต�่ากว่า 40 ปี และช่วงอายุ 60 ปี
บทบาทในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้า ขึ้นไป มีค่าเฉลี่ยภาพรวมทุกบทบาท เท่ากับ 3.04, 3.04,
ก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ดังนี้ 2.99, 2.91 คะแนน เมื่อทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า
สมมติฐานที่ 1 ราษฎรที่มีเพศต่างกัน มีบทบาท สถิติ F–test พบว่า ราษฎรที่มีอายุต่างกันมีบทบาทใน
ในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ- การฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-
น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ แตกต่างกัน จากการทดสอบ น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญ
สมมติฐาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศหญิงและเพศชาย ทางสถิติ (F=1.771; p-value = 0.152) ซึ่งไม่เป็นไปตาม
มีค่าเฉลี่ยในภาพรวมทุกบทบาท ในการฟื้นฟูทรัพยากร สมมติฐานที่ตั้งไว้
ป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ สมมติฐานที่ 3 ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน
เท่ากัน คือ 3.00 คะแนน เมื่อทดสอบสมมติฐานโดยใช้ มีบทบาทในการฟื้นฟูสภาพป่าในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-
ค่าสถิติ t–test พบว่า เพศที่แตกต่างกันมีบทบาทใน น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ แตกต่างกัน จากการทดสอบ
การฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน สมมติฐาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีการศึกษาระดับ
จังหวัดเพชรบูรณ์ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทาง มัธยมศึกษา (ม.1-6)/ปวช. กลุ่มราษฎรตัวอย่างที่มีการ
สถิติ (t = 0.550; p-value = 0.956)ไม่เป็นไปตาม ศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.1-6) กลุ่มราษฎรตัวอย่าง
สมมติฐานที่ตั้งไว้ ที่มีการศึกษาระดับอนุปริญญา- ปริญญาตรี และกลุ่ม
สมมติฐานที่ 2 ราษฎรที่มีอายุต่างกัน มีบทบาท ตัวอย่างที่ไม่มีการศึกษา มีค่าเฉลี่ยบทบาทในการฟื้นฟู
ในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ- ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัด
น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์แตกต่างกัน จากการทดสอบ เพชรบูรณ์ เท่ากับ 3.05, 3.00, 2.98 และ 2.85 เมื่อทดสอบ
สมมติฐาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีช่วงอายุ 40-49 ปี, สมมติฐานโดยใช้ค่าสถิติ F–test พบว่า ราษฎรที่มีระดับ