Page 255 -
P. 255

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               251



              ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการฟื้นฟูสภาพป่าในพื้นที่ลุ่มน�้า   ผลและวิจารณ์
              ผลการทดสอบได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8791 และ
              ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป่าไม้ ผลการทดสอบได้ค่า  ผลการศึกษาได้แบ่งรายงานเป็น 3 ตอน ดังนี้

              ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8054                         ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปลักษณะทางเศรษฐกิจ
                       การหาค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามความ  และสังคมของราษฎรในพื้นที่โครงการฟื้นฟูและพัฒนา
              คิดเห็นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาโดยครอนบาค   พื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการ
                                                           ศึกษามี ดังนี้
              (Cronbach’s alpha coefficient) ได้แก่ บทบาทของราษฎร     1.1  กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ

              ในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่โครงการฟื้นฟูและ  51.2 มีอายุ 40-49 ปี มากที่สุด ร้อยละ 31.2 รองลงมา
              พัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์   คือ ช่วงอายุ 50-59 ปี ร้อยละ 23.8 การศึกษาส่วนใหญ่
              ผลการทดสอบได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.9580 และการ  ประถมศึกษา ร้อยละ 67.1 รองลงมามัธยมศึกษา (ม.1-6)/
              ยอมรับการปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ของ  ปวช. ร้อยละ 22.1 เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ร้อยละ 54.1

              เจ้าหน้าที่ประจ�าโครงการฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่เสี่ยง  อาชีพหลักส่วนใหญ่ท�าการเกษตร ร้อยละ 64.4 ส่วนใหญ่
              ภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการทดสอบ  ไม่มีอาชีพรอง ร้อยละ 60.9 มีรายได้รวมของครัวเรือน
              ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.9276            50,000-100,000 บาท มากที่สุด ร้อยละ 47.1 รองลงมา
                                                           คือ กลุ่มที่มีรายได้รวมของครัวเรือนมากกว่า 100,000
              การวิเคราะห์ข้อมูล                           บาท ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง โดยมีที่ดินท�ากินน้อยกว่า

                     การวิเคราะห์ข้อมูลของการศึกษาครั้งนี้ใช้  5 ไร่ จ�านวนร้อยละ 30.9 มีภูมิล�าเนาเป็นคนต�าบลนี้โดย
              ประมวลผลด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ และโปรแกรม      ก�าเนิด ร้อยละ 71.9  มีเชื้อชาติไทย ร้อยละ 90.3 ส่วนใหญ่
              คอมพิวเตอร์ส�าเร็จรูป ส�าหรับสถิติที่ใช้ในการศึกษา  รับข่าวสารด้านป่าไม้จากผู้น�าชุมชนคือก�านัน/ผู้ใหญ่

              ประกอบด้วย                                   บ้าน ร้อยละ 66.8 กลุ่มราษฎรตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคย
                     1. สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) ใช้  ได้รับการฝึกอบรม ร้อยละ 80.3
              เพื่อแสดงข้อมูลคุณลักษณะทั่วไปของข้อมูล ค่าสถิติที่ใช้     1.2  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์
              ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency distribution) จ�านวนร้อยละ   ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน�้า ส่วนใหญ่มีความรู้ ความ
                                                           เข้าใจอยู่ในระดับมาก
              (percentage) ค่าเฉลี่ย (means) ค่าสูงสุด (maximum) ค่า     1.3  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายป่าไม้
              ต�่าสุด (minimum) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard   ราษฎรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับมาก
              deviation)                                          1.4  การยอมรับการปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟู
                     2. สถิติอ้างอิง (inferential statistics)โดยการใช้  ทรัพยากรป่าไม้ของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ประจ�าโครงการ

              สถิติ t–test ในการทดสอบสมมติฐานเมื่อตัวแปรอิสระแบ่ง  ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัด
              เป็น 2 กลุ่ม และใช้สถิติ  F-test ในการทดสอบสมมติฐาน  เพชรบูรณ์ โดยภาพรวมจัดอยู่ในระดับปานกลาง
              เมื่อตัวแปรอิสระ แบ่งตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป (บุญธรรม,      1.5  ปัญหาอุปสรรคในการฟื้นฟูทรัพยากร
              2537) เมื่อพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง  ป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์

              สถิติที่ระดับ 0.05 หรือระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 จะ  อยู่ในระดับปานกลาง
              ใช้วิธีของ Scheffe (เกียรติสุดา, 2552) เพื่อหาความแตกต่าง     ตอนที่ 2  ระดับบทบาทของราษฎรในการ
              ของค่าเฉลี่ยรายคู่                           ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน
   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260