Page 253 -
P. 253

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               249


              were ethnicity, training about forest and acceptance in forest resource restoration of the forest
              officers under the Project of Restoring and Developing the Nam Kor and Nam Chun, Watershed

              Risk Areas, Phetchabun Province.

              Keywords:  People roles, Forest Resource Restoration, The Nam Kor and Nam Chun Watershed
                         Risk Areas, Phetchabun Province.

                                                   บทคัดย่อ


                     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาข้อมูลลักษณะเศรษฐกิจและสังคม และบทบาทของราษฎรในการ
              ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์
              ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง จ�านวน 340 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
              ส�าหรับข้อมูลทั่วไปของราษฎร ส่วนการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test และค่า F-test ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05
              ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�าเร็จรูป

                     ผลการศึกษาพบว่า ราษฎรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 51.2  มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 67.1
              ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ร้อยละ 54.1 ส่วนใหญ่มีอาชีพหลักท�าการเกษตร ร้อยละ 64.4 และไม่มีอาชีพรอง
              ร้อยละ 60.9 มีรายได้รวมต่อปีของครัวเรือนในช่วง 50,000-100,000 บาท ร้อยละ 46.8 มีพื้นที่ถือครองเป็นของตนเอง
              ร้อยละ 69.4 มีภูมิล�าเนาดั้งเดิมอยู่ในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุนโดยก�าเนิด ร้อยละ 71.5 มีเชื้อชาติไทย ร้อยละ
              90.3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน�้า อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 97.1 มีความรู้
              ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายป่าไม้ อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 74.7 ส่วนใหญ่เคยได้รับข่าวสารเกี่ยวกับเรื่องป่าไม้ ร้อยละ
              81.8 เคยใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ ร้อยละ 84.4 ส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับการฝึกอบรม ร้อยละ 80.3 การยอมรับ

              การปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟูสภาพป่าของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ประจ�าโครงการฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน
              ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัญหาอุปสรรคในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน�้า พบว่า อยู่ในระดับ
              ปานกลาง ส�าหรับปัจจัยที่มีผลต่อบทบาทของราษฎรในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน
              จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ ชาติพันธุ์ การได้รับการฝึกอบรมด้านป่าไม้ การยอมรับการปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟูทรัพยากร
              ป่าไม้ของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ประจ�าโครงการฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ส�าหรับ
              ระดับบทบาทของราษฎรในการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยภาพ
              รวมจัดอยู่ในระดับปานกลาง


              ค�าส�าคัญ: บทบาทของราษฎร การฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ พื้นที่เสี่ยงภัยลุ่มน�้าก้อ-น�้าชุน  จังหวัดเพชรบูรณ์


                               ค�าน�า                      สาเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดอุทกภัยครั้งรุนแรง เมื่อวันที่ 11


                     สภาพพื้นที่ต้นน�้าล�าธารในพื้นที่เสี่ยงภัย ลุ่มน�้า  สิงหาคม พ.ศ. 2544 ท�าลายชีวิตและทรัพย์สินของราษฎร
              ก้อ-น�้าชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เสื่อมโทรม   บริเวณตอนล่างของลุ่มน�้าไปเป็นจ�านวนมาก
              ดินง่ายต่อการชะล้างพังทลาย (soil erosion) เนื่องจาก     การแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา ที่มุ่งเน้นเฉพาะการ
              ราษฎรเข้าบุกรุกท�ากินปลูกพืชเกษตรอายุสั้นในพื้นที่  จับกุมผู้กระท�าผิด ลักลอบตัดไม้ท�าลายป่า และปลูก
              สูงชัน ป่าธรรมชาติถูกตัดฟันไปมากเกินขีดจ�ากัด ซึ่งเป็น  ฟื้นฟูล�าพังเฉพาะหน่วยงานของรัฐ โดยมิได้ให้ราษฎรมี
   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258