Page 263 -
P. 263

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               259



                                                   บทคัดย่อ


                     การวิจัยครั้งนี้ได้น�าไม้ผล 5 ชนิด คือ ไม้มะม่วง ไม้เงาะ ไม้ทุเรียน ไม้ลิ้นจี่ และไม้ล�าไย มาทดลองท�าแผ่นชิ้น
              ไม้อัดเรียงเสี้ยนที่จัดเรียงแบบ 3 ชั้น โดยให้ไม้บางเรียงเสี้ยนไม้ตั้งฉากกันใช้กาวฟีนอล- รีซอรซินอลฟอร์มาลดีไฮด์
              (PRF) และกาวโพลีเมอริค ไดฟีนิลมีเทน ไดไอโซไซยาเนต (pMDI) ในปริมาณ 3 ระดับ คือ ร้อยละ 5, 7 และ 9 ของ
              น�้าหนักไม้บางแห้ง
                     ผลจากการน�าไม้ผลมาผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนพบว่า ไม้มะม่วง ไม้ทุเรียน ไม้เงาะ ไม้ลิ้นจี่ และไม้
              ล�าไย มีความเหมาะสมกับการผลิตเรียงล�าดับจากมากไปน้อย และเมื่อเปรียบเทียบสมบัติกับเกณฑ์มาตรฐาน  มอก.
              876-2547 มาตรฐาน JIS A 5908 – 2003 และมาตรฐาน BS EN 300-1997 พบว่าเมื่อใช้กาว pMDI ที่ระดับปริมาณ
              กาวร้อยละ 5 ของน�้าหนักไม้บางแห้งชนิดไม้ที่เหมาะสมในการผลิต คือ ไม้มะม่วง ไม้ทุเรียน และไม้ลิ้นจี่ การใช้ไม้

              เงาะต้องใช้กาวร้อยละ 7 ของน�้าหนักไม้บางแห้ง การใช้กาว PRF ที่ระดับปริมาณกาวร้อยละ 7 ของน�้าหนักไม้บาง
              แห้งชนิดไม้ที่เหมาะสม คือ ไม้มะม่วง ส�าหรับไม้ทุเรียนใช้กาวปริมาณร้อยละ 9 ของน�้าหนักไม้บางแห้ง และจากผล
              การวิจัยยังพบว่า ไม้ล�าไยไม่เหมาะสมในการน�ามาท�าแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยน
                     แผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนที่มีสมบัติผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และมีต้นทุนในการผลิต
              ต�่าที่สุด คือ การผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนที่ใช้กาว pMDI ร้อยละ 5 มีต้นทุนการผลิตต่อแผ่น เท่ากับ 53.41 บาทต่อ
              แผ่น  (35x35x1.0 เซนติเมตร) ส่วนการผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนที่ใช้กาว PRF ร้อยละ 7 มีต้นทุนการผลิตต่อแผ่น
              เท่ากับ 58.61 บาทต่อแผ่น (35x35x1.0 เซนติเมตร)


              ค�าส�าคัญ:   กาวโพลีเมอริค ไดฟีนิลมีเทน ไดไอโซไซยาเนต  กาวฟีนอล-รีซอรซินอลฟอร์มาลดีไฮด์
                       แผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยน


                               ค�าน�า                             ปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีจ�านวนประชากร


                     ปัจจุบันไม้ยังมีความจ�าเป็นส�าหรับการก่อสร้าง  27 ล้านคน มีพื้นที่ป่า 171 ล้านไร่ หรือร้อยละ 53.33 ของ
              บ้านเรือน เครื่องเรือน เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ในชีวิต  พื้นที่ประเทศ หลังจากรัฐบาลประกาศยกเลิกสัมปทาน
              ประจ�าวัน ท�าให้ต้องหาไม้มาใช้ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหา  ป่าบกในเดือนมกราคม พ.ศ. 2532 พื้นที่ป่าไม้มีประมาณ
              การลักลอบตัดไม้จากป่าธรรมชาติและการค้าไม้เถื่อน   89.76 ล้านไร่ หรือประมาณร้อยละ 28 ของพื้นที่ประเทศ
              เกิดปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมตามมาอีกหลายประการ   และได้ลดลงเหลือ 85.4 ล้านไร่ หรือร้อยละ 26.64 ของ
              ท�าให้รัฐบาลต้องทุ่มเทงบประมาณและบุคลากรในการ  พื้นที่ประเทศในปี พ.ศ. 2534 แต่จ�านวนประชากรเพิ่ม

              ป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ท�าลายป่า   ขึ้นมาถึง 56 ล้านคน ในช่วงเวลาเพียง  2 ปี พื้นที่ป่าไม้
              กระทั่งถึงการยกเลิกสัมปทานการท�าไม้ในป่าบกทั่วประเทศ
              ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 เพื่อหยุดยั้งการตัดไม้ท�าลายป่า แต่  ลดลงไปร้อยละ 1.36 ของพื้นที่ประเทศ หรือประมาณ
              การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนไม้ใช้สอยยังไม่ได้รับ  4.36 ล้านไร่ จวบจนถึงปี พ.ศ. 2549 ข้อมูลที่ได้จากการ
              การแก้ไขให้ลุล่วงไปได้ แม้ความพยายามส่งเสริมให้มี  ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมปรากฏว่าประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้
              การปลูกสร้างสวนป่าในปัจจุบันยังไม่ตอบสนองความ  เหลืออยู่ 99.1 ล้านไร่ หรือ ร้อยละ 30.92 ของพื้นที่
              ต้องการได้ และนับวันความต้องการใช้ไม้ของประเทศ  ประเทศ ในขณะที่จ�านวนประชากรเพิ่มขึ้นไปอยู่ใน
              เพิ่มทวีขึ้นตามจ�านวนประชากรที่เพิ่มขึ้น กล่าวคือ  ระดับ 62 ล้านคน
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268