Page 266 -
P. 266
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
262
น�าไม้ผลทั้ง 5 ชนิด มาท�าการปอกด้วยเครื่อง การทดสอบสมบัติทางกายภาพและกลสมบัติ
ปอกไม้บาง จากนั้นน�าไม้บางที่ได้มาตัดด้วยเครื่อง ตัดและทดสอบแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนตาม
ตัดไม้บางเป็นแถบยาวมีขนาดกว้าง 2-2.5 เซนติเมตร มอก. 876-2547 (มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม,
ขนาดยาว 6-7 เซนติเมตร และหนา 0.9 มิลลิเมตร น�า 2547) มาตรฐาน JIS A 5908-2003 (Japanese Industrial
ไปอบในเตาอบจนเหลือความชื้นประมาณร้อยละ 3-5 Standard, 2003) และมาตรฐาน BS EN 300-1997 (British
แล้วใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ Standard, 1997) ก�าหนด
การท�าแผ่น
น�าไม้บางที่เตรียมไว้มาท�าเป็นแผ่นชิ้นไม้อัด การวางแผนการทดลองและวิเคราะห์ผล
เรียงเสี้ยนโดยมีสภาวะในการวิจัย ดังนี้ การทดสอบสมบัติแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนที่
ความหนาแน่นของแผ่น 700 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ท�าจากไม้ผล 5 ชนิด คือ ไม้มะม่วง ไม้เงาะ ไม้ทุเรียน
ความหนาของแผ่น 10 มิลลิเมตร ไม้ลิ้นจี่ และไม้ล�าไย ที่ระดับปริมาณกาว PRF และกาว
ขนาดของแผ่น 37 × 37 ตารางเซนติเมตร pMDI จ�านวน 3 ระดับ คือร้อยละ 5, 7 และ 9 ของน�้าหนัก
ความชื้นของไม้บางก่อนผสมกาว ไม้บางแห้ง ท�าการจัดเรียงไม้บางแบบ 3 ชั้น โดยให้
ร้อยละ 3-5 ไม้บางเรียงเสี้ยนไม้ตั้งฉากกัน วางแผนการทดลอง
ปริมาณกาวที่ใช้ต่อน�้าหนักของไม้บางแห้ง แบบ 5×2×3 แฟคตอเรียล ในแผนการทดลองแบบสุ่ม
ร้อยละ 5, 7 และ 9 สมบูรณ์ การทดลองมี 30 ทรีทเมนต์คอมบิเนชั่นมี 3 ซ�้า
น�าไม้บางที่อบเตรียมไว้แล้วไปผสมกับกาว (5×2×3 Factorial experiment in completely randomized
ฟีนอล-รีซอรซินอลฟอร์มาลดีไฮด์ (Phenol-Resorcinol design) จากนั้น น�าค่าที่ได้จากการทดสอบ คือ ค่าการ
Formaldehyde: PRF) และกาวโพลีเมอริค ไดฟีนิล พองตัวตามความหนา การดูดซึมน�้า ความต้านแรงดัด
มีเทน ไดไอโซไซยาเนต (Polymeric diphenylmethane มอดุลัสยืดหยุ่น และความต้านแรงดึงตั้งฉากกับผิวหน้า
diisocyanate: pMDI) ในเครื่องผสมกาวตามสภาวะที่ มาวิเคราะห์ความแปรปรวนว่า ผลการทดสอบนั้นมี
ก�าหนดไว้ จากนั้นน�าไปจัดเรียงในกล่องท�าแผ่น โดยจัด ความแตกต่างกันทางสถิติหรือไม่ ถ้าปรากฏว่ามีความ
เรียงแบบ 3 ชั้น โดยให้ไม้บางเรียงเสี้ยนไม้ตั้งฉากกัน แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ ก็จะน�ามาเปรียบเทียบความ
เสร็จแล้วน�าไปอัดเย็นโดยใช้น�้าหนักกดทับเป็นเวลา 5 แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s New Multiple
นาที เพื่อให้ไม้บางที่จัดเรียงไว้มีความคงสภาพมากขึ้น Range Test (DMRT) (อนันตชัย, 2539)
การอัดร้อน
น�าแผ่นที่ได้ไปวางระหว่างแผ่นรองอัดที่เตรียม ผลและวิจารณ์
ผิวหน้าดีแล้ว และใช้แท่งเหล็กหนา 10 มิลลิเมตร 1 คู่ จากการศึกษาทดลองผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดเรียง
วางขนานด้านข้างแผ่น น�าเข้าเครื่องอัดร้อนท�าการอัด เสี้ยนที่ท�าจากไม้ผล 5 ชนิด คือ ไม้มะม่วง ไม้เงาะ ไม้
ตามสภาวะ ดังนี้ ทุเรียน ไม้ลิ้นจี่ และไม้ล�าไย ที่ระดับปริมาณกาว PRF
อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส และกาว pMDI จ�านวน 3 ระดับ คือร้อยละ 5, 7 และ 9
แรงอัดจ�าเพาะ 50 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ระยะเวลา 8 นาที ของน�้าหนักไม้บางแห้ง ท�าการจัดเรียงไม้บางแบบ 3
เสร็จแล้วจึงน�าแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนที่ได้ ชั้น โดยให้ไม้บางเรียงเสี้ยนไม้ตั้งฉากกัน แล้วทดสอบ
ออกมาวางผึ่งในกระแสอากาศเพื่อปรับสภาวะความชื้น สมบัติตามมาตรฐาน มอก. 876-2547 มาตรฐาน JIS A
และอุณหภูมิประมาณ 1 สัปดาห์ 5908-2003 และมาตรฐาน BS EN 300-1997 (Table2)