Page 264 -
P. 264

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              260



                     ส่วนปริมาณไม้ที่ต้องการในประเทศแต่ละปี  การพัฒนาโดยการน�าไม้ผล จ�านวน 5 ชนิด คือมะม่วง
              มากกว่า 3 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งช่วงที่ผ่านมาก่อนยกเลิก  เงาะ ทุเรียน ลิ้นจี่ และล�าไย มาใช้ประโยชน์โดยเฉพาะ
              สัมปทานป่าไม้มีการท�าไม้ออกจากป่าปีละประมาณ   อย่างยิ่งด้านการผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนซึ่งสามารถ
              2 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 70-80 ของความ  น�าไปใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างได้อย่างกว้างขวาง

              ต้องการใช้ไม้ เมื่อรัฐบาลยกเลิกสัมปทานป่าไม้จึงมี  ตลอดจนการศึกษาถึงสมบัติพื้นฐานทางด้านกายภาพ
              การน�าเข้าไม้จากต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2550 จ�านวน   และกลสมบัติของแผ่นชิ้นไม้อัดเรียงเสี้ยนจากไม้ผล
              1.9 ล้านลูกบาศก์เมตร  คิดเป็นมูลค่า 15,943 ล้านบาท   เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาที่จะน�าเอาไม้จากผล
              โดยส่วนใหญ่จากประเทศเพื่อนบ้าน คือ มาเลเซีย พม่า   ดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
              กัมพูชา และ ลาว ซึ่งการน�าเข้าไม้จากต่างประเทศส่วน

              หนึ่งส่งผลกระทบต่อป่าธรรมชาติของประเทศเหล่านั้น       อุปกรณ์และวิธีการ
              เช่นกันโดยเฉพาะกับกระแสสิ่งแวดล้อมในยุคโลกาภิวัตน์
              ท�าให้ทุกประเทศที่ส่งออกมีมาตรการจ�ากัดหรือห้ามส่ง  เตรียมวัตถุดิบ
              ออกไม้ซุง ดังนั้นภาวการณ์ขาดแคลนไม้ยังคงด�ารงอยู่     น�าไม้ผลทั้ง 5 ชนิด ที่ถูกโค่นเพื่อท�าการปลูก
              เช่นเดิม (ส�านักแผนงานและสารสนเทศ, 2553)     ใหม่มีอายุเฉลี่ย 25-30 ปี โดย
                     จากปัญหาดังกล่าวเมื่อไม้ยังคงมีความส�าคัญ     ไม้มะม่วง (Mangifera indica Linn.)

              ในการใช้ประโยชน์ มีความต้องการที่เพิ่มปริมาณสูงขึ้น       จากจังหวัดฉะเชิงเทรา
              แต่ไม้กลับขาดแคลนและมีราคาสูงขึ้น ไม้ที่พอจะหา      ไม้เงาะ (Nephelium lappaccum Linn.)
              ได้จากสวนป่าในปัจจุบันมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความ       จากจังหวัดระยอง
              ต้องการ แนวคิดการใช้ประโยชน์ไม้ด้วยความเหมาะสม      ไม้ทุเรียน (Durio zibethinus Merr.)

              อย่างชาญฉลาดและยั่งยืน พร้อมทั้งให้มีการเพิ่มมูลค่า       จากจังหวัดสุราษฎร์ธานี
              ด้วยจึงเป็นทางเลือกที่มีความส�าคัญอย่างยิ่งยวดที่ต้อง     ไม้ลิ้นจี่ (Litchi chinensis Sonn.)
              ปฏิบัติให้เกิดขึ้น โดยเฉพาะพืชผลทางการเกษตรที่        จากจังหวัดเชียงใหม่
              ให้ผลผลิตต�่า ซึ่งเมื่อเกษตรกรท�าการตัดฟันเพื่อปลูก     ไม้ล�าไย (Euphonia longana Lam.)
              ใหม่ ส�าหรับไม้ที่ถูกตัดฟันดังกล่าวนั้นปัจจุบันยังไม่มี       จากจังหวัดเชียงใหม่
              การน�ามาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่ม     โดยไม้ผลทั้ง 5 ชนิด มีคุณสมบัติทางฟิสิกส์

              ผลผลิต และสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งเป็นการพัฒนาการใช้  และทางกล ดังนี้
              ประโยชน์ทรัพยากรพืชเศรษฐกิจพื้นเมือง จึงเห็นควรมี
   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268   269