Page 234 -
P. 234

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              230



              ท่องเที่ยว และก�าหนดค่าคะแนนความส�าคัญหรือค่า  ที่สร้างขึ้น พร้อมข้อมูลตามปัจจัยชี้วัดต่างๆ ของทุก
              ถ่วงน�้าหนัก (weighted score: w) ของแต่ละปัจจัยชี้วัด  แหล่งท่องเที่ยวให้ผู้เชี่ยวชาญ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ
              ที่สร้างขึ้น ผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวคัดเลือกจาก  เจาะจง (purposive sampling) ให้ครอบคลุมผู้แทนด้าน

              สถาบันการศึกษา  หน่วยงานภาครัฐ  ผู้ประกอบการ  การท่องเที่ยวจากสถาบันการศึกษา  หน่วยงานภาครัฐ และ
              ธุรกิจท่องเที่ยว และองค์กรเอกชน ที่ได้จากการสุ่ม  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
              ตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) จ�านวน 22   ด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ศึกษา จ�านวน 9 คน การ
              ท่าน ตามกระบวนการเทคนิคเดลฟาย (delphi technique)   วิเคราะห์คะแนนศักยภาพ ใช้สูตร

              วิธีนี้เป็นเทคนิคที่สามารถน�ามาใช้ในการพัฒนาตัวชี้วัด     RRP = [70R  + 30R ] / 100
              การจัดการการท่องเที่ยวได้ (Miller, 2001)                     Core    Act
                       สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่ามัธยฐาน (median)   ก�าหนดให้   RRP   =  คะแนนศักยภาพของทรัพยากร
                                                                              การท่องเที่ยว มีค่า 1 ถึง 3
              โดยได้ก�าหนด เป็น 5 ระดับ คือ มีค่ามัธยฐาน  ต�่ากว่า      70R  =  คะแนนรวมของปัจจัยชี้วัด

              1.50,  1.50-2.49,  2.50-3.49, 3.50-4.49  และตั้งแต่ 4.50   Core   หลัก มีค่า 70 ถึง 210
              ขึ้นไป หมายถึง ปัจจัยชี้วัดมีความเหมาะสมน้อยที่สุด       30R   =  คะแนนรวมของปัจจัยชี้วัด
              น้อย ปานกลาง มาก และมากที่สุด ตามล�าดับ ส�าหรับ          Act    เฉพาะตามประเภทของกิจกรรม
              คะแนนความส�าคัญหรือค่าถ่วงน�้าหนัก ก�าหนดโดย                   ท่องเที่ยว มีค่า 30 ถึง 90

              ผู้เชี่ยวชาญชุดเดียวกับที่ประเมินความเหมาะสมของ     วิธีการวิเคราะห์คะแนนรวมของปัจจัยชี้วัด
              ปัจจัยชี้วัด เป็นการให้ค่าคะแนนแบบประเมินค่า (rating   หลักและปัจจัยชี้วัดเฉพาะตามประเภทของกิจกรรมท่อง
              scale) ตั้งแต่ 1-5 คะแนนในแต่ละปัจจัยชี้วัด ค่า 1 หมาย  เที่ยว ใช้สมการถ่วงน�้าหนักอย่างง่าย (simple weighting
              ถึง ค่าน�้าหนักต�่ามาก และค่า 5 หมายถึง ค่าน�้าหนักสูง  score equation) ดังนี้

              มาก จากนั้นน�ามาหาค่าคะแนนเฉลี่ยเพื่อใช้เป็นค่าน�้า    (W R )+ (W R )+ (W R )+…+ (W R )
              หนักของแต่ละปัจจัยชี้วัด (w)                     R =     1 1    2 2    3 3       n n

                                                                               W +W +W +…+W

                                                                                    2
                                                                                 1
                                                                                        3
                                                                                              n
                     2. การประเมินศักยภาพทรัพยากรท่องเที่ยว   ก�าหนดให้   R   =  ค่าคะแนนรวมของปัจจัยชี้
              มีขั้นตอนการศึกษา ดังนี้                                        วัด มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 3
                       จากปัจจัยชี้วัดที่ผ่านการประเมินความ         R      =  ค่าคะแนนศักยภาพของปัจจัย
              เหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวในข้อ (1)       1…n      ชี้วัดที่ 1 ถึง n
              คัดเลือกเฉพาะปัจจัยที่มีค่ามัธยฐานตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป      W  1…n   =  ค่าน�้าหนัก หรือค่าความส�าคัญ
              หรือ มีความเหมาะสมมากขึ้นไป มาใช้ในการสร้างแบบ                  ของปัจจัยชี้วัดที่ 1 ถึง n

              ประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ      ค่าคะแนนศักยภาพของทรัพยากรท่องเที่ยว
              ประกอบด้วยปัจจัยชี้วัด 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นปัจจัย  ที่ค�านวณได้ น�ามาจัดกลุ่มศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว
              ชี้วัดหลัก แบ่งเป็น ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม  ด้าน  เป็น 3 ช่วงชั้น คือ 1.00-1.66, 1.67-2.33 และ 2.34-3.00
              การบริหารจัดการ และด้านเศรษฐกิจสังคม รวม 22   หมายถึง ศักยภาพต�่า ปานกลาง และสูงในการรองรับ

              ปัจจัย และ ส่วนที่ 2 เป็นปัจจัยชี้วัดเฉพาะตามประเภท  กิจกรรมการท่องเที่ยว ตามล�าดับ
              กิจกรรมท่องเที่ยว กิจกรรมละ 7-8 ปัจจัย ท�าการส่งแบบ
              ประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239