Page 235 -
P. 235
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
231
ผลและวิจารณ์ 1. ปากแม่น�้าบางปะกง ในกิจกรรมล่องเรือ
ชมโลมา
ผลการศึกษาในครั้งนี้ สามารถแบ่งได้เป็น 3 2. โรงเรียนบางปะกง “บวรวิทยายน” ใน
ส่วน สรุปได้ ดังนี้ กิจกรรมศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน
3. เกาะธรรมชาติท่าข้าม ในกิจกรรมดูนก
การส�ารวจและรวบรวมทรัพยากรการท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ และศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน
ผลจากการศึกษาข้อมูลทุติภูมิร่วมกับการ
ส�ารวจภาคสนาม พบว่า อ�าเภอบางปะกง มีทรัพยากร การศึกษาศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทั้งหมด 5 แห่ง สามารถ ทางธรรมชาติ
ประกอบกิจกรรมได้ทั้งหมด 6 กิจกรรม ได้แก่ ล่องเรือ ผลการศึกษาศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยว
ชมโลมา ตกปลา พายเรือแคนนู ดูนก ดูหิ่งห้อย และ ทางธรรมชาติที่ได้รับการคัดเลือก ในระดับกิจกรรม
ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ดังนี้ ทั้งหมด 3 แหล่งท่องเที่ยว ใน 3 กิจกรรม พบว่า แหล่ง
1. ปากแม่น�้าบางปะกง สามารถประกอบ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีศักยภาพสูงในการรองรับ
กิจกรรมล่องเรือชมโลมา ตกปลา และพายเรือแคนนู กิจกรรมท่องเที่ยว ได้แก่ กิจกรรมล่องเรือชมโลมาปาก
2. เกาะธรรมชาติท่าข้าม สามารถประกอบ แม่น�้าบางปะกง กิจกรรมศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนเกาะ
กิจกรรมดูนก และศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ธรรมชาติท่าข้าม และกิจกรรมดูนกเกาะธรรมชาติท่าข้าม
3. ป่าชายเลนวัดคงคาราม สามารถประกอบ โดยมีคะแนนศักยภาพเท่ากับ 2.429 2.388 และ 2.369
กิจกรรมศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ตามล�าดับ ส�าหรับอีก 1 แห่ง คือ กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ
4. ป่าชายเลนโรงเรียนในบางปะกงบวรวิทยายน ป่าชายเลนในโรงเรียนบางปะกงบวรวิทยายน มีศักยภาพ
สามารถประกอบกิจกรรมศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ในการรองรับกิจกรรมท่องเที่ยวระดับปานกลาง ด้วย
5. ป่าชายเลนในชุมชนหมู่ 8 ต�าบลท่าข้าม คะแนน 2.246 (Figure 1) จากผลการประเมินศักยภาพ
สามารถประกอบกิจกรรมศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ทรัพยากรการท่องเที่ยว แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมล่องเรือ
และดูหิ่งห้อย ชมโลมา ปากแม่น�้าบางปะกง ซึ่งมีศักยภาพสูง มีความ
สอดคล้องกับนโยบายของส�านักงานท่องเที่ยวและกีฬา
การคัดเลือกกิจกรรมท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่
โดดเด่น จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่มีการประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมกิจกรรม
ผลจากการจัดประชุมกลุ่ม (group discussion) เมื่อ ท่องเที่ยวชมโลมาปากแม่น�้าบางปะกง ในช่วงฤดูหนาว
วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ณ เทศบาลต�าบลท่าข้าม ของทุกปี (ส�านักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดฉะเชิงเทรา,
อ�าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีผู้ให้ข้อมูลหลัก 2556) นอกจากนี้ ยังพบว่า เกาะธรรมชาติท่าข้าม ซึ่งมี
ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ตั้งอยู่ในเส้นทางผ่านเดียวกันกับการล่องเรือชมโลมา
ชุมชน และผู้ประกอบการการท่องเที่ยว จ�านวน 20 คน มีศักยภาพสูงในการรองรับกิจกรรมได้ถึง 2 กิจกรรม คือ
พบว่า แหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมท่องเที่ยวทางธรรมชาติ การศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน และ ดูนก จึงเป็นแหล่ง
ในพื้นที่ปากแม่น�้าบางปะกงที่มีความโดดเด่นและควร ท่องเที่ยวที่ควรให้ความส�าคัญในการพัฒนา เพื่อให้
ท�าการประเมินศักยภาพในระดับกิจกรรม มีทั้งหมด 3 เกิดการเชื่อมโยงของแหล่งท่องเที่ยวบริเวณปากแม่น�้า
แหล่งท่องเที่ยว ใน 3 กิจกรรม ดังนี้ บางปะกงในอนาคต